กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนักเรียนท่าแลหลาปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ เป็นโครงการที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสุขวิทยา ภาวะโภชนาการ สุขภาพช่องปากและฟัน การดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิต เป็นต้น โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือนักเรียน จำนวนทั้งหมด ๑๔๓ คน ซึ่งได้เชิญวิทยากรมาให้ความรู้ในเรื่องสุขภาพดี อยู่ที่เรา อีกทั้งยังมีรณรงค์ให้นักเรียนกำจัดเหาและยังสาธิตการทำแชมพูกำจัดเหาด้วยสมุนไพร กลุ่มเป้าหมายคือนักเรียน จำนวน ๖๒ คน เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพด้านสุขวิทยาของนักเรียน มีการส่งเสริมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค โดยมีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง จัดทำคู่มืออาหารที่มีคุณประโยชน์ ดำเนินการแก้ปัญหานักเรียนที่มีปัญหาโภชนาการเกินและต่ำ เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของนักเรียนด้านทุพโภชนาการ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียน จำนวน ๑๘๔ คน อีกทั่งมีการส่งเสริมสุขภาพฟันและช่องปากโดยมีการคัดกรองสุขภาพปากและช่องฟัน รณรงค์ให้นักเรียนแปรงฟันหลังอาหาร มีการดูแล ติดตามสุขภาพปากและช่องฟันของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายนักเรียน จำนวน ๑๘๔ คน เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของนักเรียนด้านสุขภาพช่องปากและฟัน และสุดท้ายมีการจัดกิจกรรมเดิน วิ่ง เพื่อสุขภาพ โดยมีการเชิญชวนผู้ปกครองและคนในชุมชนให้มาร่วมออกกำลังกาย โดยจัดกิจกรรมสัปดาห์ละ ๑ ครั้ง ทุกเย็นวันพุธ กลุ่มเป้าหมายนักเรียน คณะครู ผู้ปกครองและคนในชุมชน จำนวน ๑๘๐ คน เพื่อแก้ปัญหสุขภาพของนักเรียนด้านการออกกำลังกาย ในกิจกรรมดังที่กล่าวมา งบประมาณในการดำเนินโครงการได้รับการจัดสรรจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จำนวน ๕๙,๓๐๑ บาท โดยแบ่งเป็นกิจกรรมย่อยดังนี้ กิจกรรมที่ ๑ สุขภาพดี อยู่ที่ตัวเรา งบประมาณ ๑๔,๒๘๕ บาท กิจกรรมที่ ๒ เหาหาย สบายหัว ด้วยสมุนไพร งบประมาณ ๔,๑๘๑ บาท กิจกรรมที่ ๓ ส่งเสริม สุขภาพปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค งบประมาณ ๖,๖๔๕ บาท กิจกรรมที่ ๔ ส่งเสริมสุขภาพฟันและช่องป่าก งบประมาณ ๑๖,๕๔๐ บาท กิจกรรมที่ ๕ เดิน วิ่ง เพื่อสุขภาพ งบประมาณ ๑๒,๖๕ㅇ บาท และกิจกรรมที่ ๖ รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งบประมาณ ๑,๐๐๐ บาท
ผลที่ได้รับจากการดำเนินโครงการ ประเมินผลจากการทดสอบวัดความรู้ก่อนการอบรม Pre-test และหลังการอบรม Post- test ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมเรื่อง สุขภาพดี อยู่ที่ตัวเรา พบว่าก่อนการอบรมผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีระดับความรู้ร้อยละ ๕๘.๖๔ หลังจากได้รับการอบรมให้ความรู้แล้ว พบว่าผู้เข้ารับการ อบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ ๙๕.๐๖ กิจกรรมเหาหาย สบายหัว ด้วยสมุนไพร พบว่าหลังจากได้รับการติดตามโดยการสังเกตพฤติกรรม นักเรียนร้อยละ ๗๕ ที่สามารถรักษาโรคเหาหายและลดการแพร่กระจายต่อผู้อื่น กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค จากการสังเกตพฤติกรรมการบริโภคของนักเรียนทุกคน พบว่านักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสม คิดเป็นร้อยละ ๘๔.๕๐ กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพฟันและช่องปาก จากการสังเกตพฤติกรรมพบว่านักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหาร คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ และกิจกรรมเดิน วิ่ง เพื่อสุขภาพ จากการสำรวจความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรมพบว่า นักเรียน คณะครูและผู้ปกครองนักเรียนให้ความพึงพอใจในกิจกรรมร้อยละ ๙๖.๖๖ และอยากให้จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ