กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการสร้างเสริมสุขภาพ สานสัมพันธ์รักในครอบครัวโรงเรียนบ้านควนฟ้าแลบ

วัตถุประสงค์

๑. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้กับนักเรียนและผู้ปกครองเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปาก การป้องกันโรคและการป้องกันอุบัติเหตุ

๒. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพในช่องปากที่ดีขึ้นและได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี

๓. เพื่อลดอัตราการป่วยของนักเรียนและครู จากโรคไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ และโรคไข้เลือดออก

๔. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกาย สร้างความสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมระหว่างสถาบันโรงเรียนกับครอบครัว

กิจกรรมดำเนินการ ดังนี้

กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง

กิจกรรมที่ ๒ กิจกรรมฟันดีมีสุข

กิจกรรมที่ ๓ กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรค

กิจกรรมที่ ๔ กิจกรรมใช้ถนนอย่างปลอดภัย ร่วมใจกัน ป้องกันอุบัติเหตุ

กิจกรรมที่ ๕ กิจกรรมส่งเสริมกีฬาสร้างความสัมพันธ์

สรุปผลการประเมิน

สภาพความเป็นอยู่ในสังคมของมนุษย์ตามภาวะเศรษฐกิจ การหาเลี้ยงชีพในครอบครัว ย่อมกระทบต่อการดำเนินชีวิต ปัญหาสุขภาพในช่องปาก ปัญหาโรคติดต่อ โรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ และโรคไข้เลือดออก ปัญหาการเกิดอุบัติเหตุ การใช้ถนน การใช้หมวกนิรภัย หากขาดความรู้ความเข้าใจ ขาดประสบการณ์ ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบต่อร่างกายและทรัพย์สินได้ โรงเรียนบ้านควนฟ้าแลบเป็นสถานที่จัดการศึกษาเป็นแหล่งผลิตความรู้ ฝึกประสบการณ์ ให้กับนักเรียน และได้ขอสนับสนุนโครงการดังกล่าวตามกิจกรรมที่ระบุไว้ และได้ดำเนินการตามโครงการสร้างเสริมสุขภาพ สานสัมพันธ์รักในครอบครัวโดยการดำเนินการตามกิจกรรมดังต่อไปนี้

กิจกรรมที่ ๑ อบรมให้ความรู้นักเรียนและผู้ปกครอง เกี่ยวกับสุขภาพในช่องปาก เช่น การดูแลสุขภาพเหงือกและฟัน การรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ การควบคุม การป้องกัน โรคติดต่อ โรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคไข้เลือดออก เป็นต้น การป้องกันอุบัติเหตุ การให้ความรู้เกี่ยวกับกฎจราจร สัญญาณไฟ และการให้การปฐมพยาบาลเป็นต้น ด้วยหลักสูตรที่เหมาะสมกับเด็กระดับประถมศึกษา จากการสังเกตสรุปได้ว่านักเรียนและผู้ปกครอง ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ซึ่งจากผลการทดสอบก่อนเข้าอบรมมีคะแนนเฉลี่ย 71.20 หลังจากการอบรม มีคะแนนเฉลี่ย 81.60 แสดงว่าการอบรมครั้งนี้ ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น

กิจกรรมที่ ๒ ฟันดีมีสุข ครูประจำชั้นคัดเลือกแกนนำนักเรียนแต่ละชั้นเรียน ห้องละ 2 คน รณรงค์ให้เด็กนักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน โดยมีนักเรียนแกนนำเป็นผู้กำกับดูแลการแปรงฟันและมีเพลงประกอบขณะที่แปรงฟัน แกนนำนักเรียนตรวจสอบความสะอาดหลังแปรงฟัน พร้อมบันทึกผล กรณีเด็กฟันผุให้แกนนำนักเรียนรายงานผลให้ครูประจำชั้นทราบ และแจ้งผลให้ผู้ปกครองทราบ ส่งตัวรักษาที่ถูกต้องต่อไป

กิจกรรมที่ ๓ รณรงค์ป้องกันโรค นักเรียนและครูเดินรณรงค์ ป้องกันโรคภัยต่างๆ และหลักการการจัดการขยะตามหลักสุขาภิบาล พร้อมทั้งรณรงค์การป้องกันโรคไข้เลือดออก วิธีการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน การจัดกิจกรรมการทำความสะอาดบริเวณโรงเรียนและห้องน้ำ อย่างน้อยเตือนละ ๑ ครั้งกรณีเด็กป่วยที่มีอาการคล้ายสงสัยว่าเป็นไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคไข้เลือดออก และโรคในสถานการณ์ปัจจุบัน โรงเรียนดำเนินการแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขโดยเร็วเพื่อดำเนินการแก้ไขและสอบสวนโรคต่อไป

กิจกรรมที่ ๔ ใช้ถนนอย่างปลอดภัย ร่วมใจกันป้องกันอุบัติเหตุประชุมคณะครูและกรรมการสถานศึกษา ปรึกษาหารือเกี่ยวกับการใช้มาตรการในโรงเรียนกี่ยวกับการใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย การจัดทำป้ายจราจร การใช้รถช้ถนนภายในโรงเรียน รณรงค์ให้นักเรียนชับขี่รถโดยสวมหมวกนิรภัย เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ

กิจกรรมที่ ๔ ส่งเสริมกีฬาสร้างความสัมพันธ์ประชุมคณะครูและกรรมการสถานศึกษา เพื่อกำหนดกิจกรรมกีฬาสร้างความสัมพันธ์ระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ประชุมผู้ปกครองนักเรียน เพื่อขี้แจงวัตถุประสงค์ในการดำเนินการจัดกิจกรรมและแบ่งกลุ่มเพื่อร่วมกิจกรรม กำหนดวันจัดกิจกรรม ดำเนินการในกิจกรรมตามโครงการ จัดกิจกรรมตามโครงการ นักเรียนและผู้ปกครองร่วมกันรับประทานอาหารโดยผู้ปกครองนักเรียนนำอาหารมาจากครัวเรือน มารับประทานร่วมกัน

ผลสรุปจากการดำเนินการตามโครงการสร้างเสริมสุขภาพ สานสัมพันธ์รักในครอบครัว นักเรียน และผู้ปกครอง ได้ร่วมกิจกรรมดังกล่าว คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ