โครงการป้องกันเฝ้าระวังและติดตามโรคโควิด-19 โดย อสม.
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันเฝ้าระวังและติดตามโรคโควิด-19 โดย อสม. ”
ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทับช้าง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทับช้าง
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันเฝ้าระวังและติดตามโรคโควิด-19 โดย อสม.
ที่อยู่ ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5198-2-15 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันเฝ้าระวังและติดตามโรคโควิด-19 โดย อสม. จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทับช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันเฝ้าระวังและติดตามโรคโควิด-19 โดย อสม.
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันเฝ้าระวังและติดตามโรคโควิด-19 โดย อสม. " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5198-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,032.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทับช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก "Coronavirus disease 2019" เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมื่อปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลันปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มลฑลหูเปย ประเทศจีน จากผู้ป่วยที่มีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวัดใหญ่จำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและได้ว่าเป็นเชื้อไวรัสโคโรน่า ซึ่งเป็นสายพันธ์ที่ 7 เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) และ (MERS)จากข้อมูลกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 29 มีนาคม 2563 พบว่าประเทศไทยมีผู้ป่วยเข้าเกณฑ์ต้องเฝ้าระวัง 17,779 ราย มีผู้ป่วยติดเชื้อสะสม 1,388 ราย เป็นผู้ป่วยรายใหม่ 143 ราย มีอาการรุนแรง23 ราย เสียชีวิต 7 ราย สามารถรักษาหายกลับบ้านได้ 127 รายถานการณ์ในจังหวัดสงขลา พบว่ามีผู้ป่วยเข้าเกณฑ์ต้องฝ้าระวัง 288 ราย มีผู้ป่วยติดเชื้อสะสม 25 ราย รอผลตรวจ 1 ราย สามารถรักษาหายกลับบ้านได้ 11 รา กำลังรักษาตัวที่
โรงพยาบาล 14 ราย ตามประกาศ พรบ.ฉุกเฉิน ให้มีการกักกันผู้ที่เดินทางมาจากต่างประเทศ และในประเทศจัง, วัดกรุงเทพฯและเขตปริมณฑล จังหวัดปทุมธานี นนทบุรี สมุทรปาการ สมุดสาคร และนครปฐม รวมทั้งผู้ที่สัมผัสผู้เดินทางด้วยด้างมีการติดตามดูอาการเป็นเวลา 14 วัน ในพื้นที่เขตรับผิดชอบของ รพ.สต.ทับช้าง ข้อมูล ณ วันที่ 2 มีนาคม 2563 มีประชาชนที่อยู่ในกลุ่มผู้ที่เดินทางมาจากเขตกรุงเทพฯและปริมณฑลจำนวน 9 ราย และผู้สัมผัสผู้เดินทาง จำนวน 14 ราย เพื่อเป็นการป้องก่การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคร่ 2019 (COVID-19) มาตรการที่สำคัญคือ การป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรคโดยการ
หลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด หรืมลภาวะและไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย และการล้างมือดังนั้นเพื่อให้ประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทับช้าง ได้รับการดูแลติดตามเฝ้าระวังควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคร่า 2019 (COVID-19) อาสาสมัคสาธาณสุขตำบลทับช้างจึงจัดทำโครงการป้องโควิด-19โดย อสม. ขึ้น เพื่อรณรงค์ให้ความรู้ จัดทำหน้ากากอนามัย สอนการล้างมื และคัดกรอง ติดตามกลุ่มเสี่ยง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ อสม. มีความรู้ในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโควิด 19 และสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ
- เพื่อให้ อสม.มีความรู้ในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโควิด 19 และสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ
- เพื่อกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามเฝ้าระวังความเสี่ยง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- นัดกลุ่มเป้าหมายมาร่วมอบรมให้ความรู้
- จัดตั้งทีมเคลื่อนที่เร็ว โดย อสม. หมู่บ้านละ 3 คน ในการค้นหากลุ่มเสี่ยงในพื้นที่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อสม. มีความรู้ในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโควิด 19 และสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ
2.ค้นพบผู้ที่เสี่ยงได้อย่างรวดเร็วโดยการรายงานจาก อสม.
3.กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามเฝ้าระวังความเสี่ยง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. นัดกลุ่มเป้าหมายมาร่วมอบรมให้ความรู้
วันที่ 1 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคโควิดและการปฏิบัติตนในการป้องกันและให้ความรู้เกี่ยวกับการติดตามกลุ่มเสี่ยงตามประกาศของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อสม.มีความรู้เรื่องโรคโควิด รู้ป้องกันโรค รู้การปฏิบัติตน และรู้วิธีการสำรวจค้นหากลุ่มเสี่ยงที่เดินทางเข้ามาในพื้นที่
50
0
2. จัดตั้งทีมเคลื่อนที่เร็ว โดย อสม. หมู่บ้านละ 3 คน ในการค้นหากลุ่มเสี่ยงในพื้นที่
วันที่ 1 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
ค้นหาและรายงานกลุ่มเสี่ยงตามประกาศของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขที่เดินทางเข้ามาในพื้นที่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ควบคุมป้องกันโรคโควิดได้ทันท่วงที
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ อสม. มีความรู้ในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโควิด 19 และสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : อสม. ทำแบบประเมินหลังให้ความรู้ได้คะเเนนผานเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 80
0.00
2
เพื่อให้ อสม.มีความรู้ในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโควิด 19 และสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : ผลจากการรายงานติดตามกลุ่มเสี่ยงจาก อสม.
0.00
3
เพื่อกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามเฝ้าระวังความเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ผลจากรายงานการติดตามกลุ่มเสี่ยงครบตามเกณฑ์
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม. มีความรู้ในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโควิด 19 และสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ (2) เพื่อให้ อสม.มีความรู้ในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโควิด 19 และสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ (3) เพื่อกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามเฝ้าระวังความเสี่ยง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) นัดกลุ่มเป้าหมายมาร่วมอบรมให้ความรู้ (2) จัดตั้งทีมเคลื่อนที่เร็ว โดย อสม. หมู่บ้านละ 3 คน ในการค้นหากลุ่มเสี่ยงในพื้นที่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันเฝ้าระวังและติดตามโรคโควิด-19 โดย อสม. จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5198-2-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทับช้าง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันเฝ้าระวังและติดตามโรคโควิด-19 โดย อสม. ”
ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทับช้าง
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5198-2-15 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันเฝ้าระวังและติดตามโรคโควิด-19 โดย อสม. จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทับช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันเฝ้าระวังและติดตามโรคโควิด-19 โดย อสม.
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันเฝ้าระวังและติดตามโรคโควิด-19 โดย อสม. " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5198-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,032.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทับช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก "Coronavirus disease 2019" เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมื่อปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลันปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มลฑลหูเปย ประเทศจีน จากผู้ป่วยที่มีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวัดใหญ่จำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและได้ว่าเป็นเชื้อไวรัสโคโรน่า ซึ่งเป็นสายพันธ์ที่ 7 เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) และ (MERS)จากข้อมูลกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 29 มีนาคม 2563 พบว่าประเทศไทยมีผู้ป่วยเข้าเกณฑ์ต้องเฝ้าระวัง 17,779 ราย มีผู้ป่วยติดเชื้อสะสม 1,388 ราย เป็นผู้ป่วยรายใหม่ 143 ราย มีอาการรุนแรง23 ราย เสียชีวิต 7 ราย สามารถรักษาหายกลับบ้านได้ 127 รายถานการณ์ในจังหวัดสงขลา พบว่ามีผู้ป่วยเข้าเกณฑ์ต้องฝ้าระวัง 288 ราย มีผู้ป่วยติดเชื้อสะสม 25 ราย รอผลตรวจ 1 ราย สามารถรักษาหายกลับบ้านได้ 11 รา กำลังรักษาตัวที่ โรงพยาบาล 14 ราย ตามประกาศ พรบ.ฉุกเฉิน ให้มีการกักกันผู้ที่เดินทางมาจากต่างประเทศ และในประเทศจัง, วัดกรุงเทพฯและเขตปริมณฑล จังหวัดปทุมธานี นนทบุรี สมุทรปาการ สมุดสาคร และนครปฐม รวมทั้งผู้ที่สัมผัสผู้เดินทางด้วยด้างมีการติดตามดูอาการเป็นเวลา 14 วัน ในพื้นที่เขตรับผิดชอบของ รพ.สต.ทับช้าง ข้อมูล ณ วันที่ 2 มีนาคม 2563 มีประชาชนที่อยู่ในกลุ่มผู้ที่เดินทางมาจากเขตกรุงเทพฯและปริมณฑลจำนวน 9 ราย และผู้สัมผัสผู้เดินทาง จำนวน 14 ราย เพื่อเป็นการป้องก่การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคร่ 2019 (COVID-19) มาตรการที่สำคัญคือ การป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรคโดยการ หลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด หรืมลภาวะและไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย และการล้างมือดังนั้นเพื่อให้ประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทับช้าง ได้รับการดูแลติดตามเฝ้าระวังควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคร่า 2019 (COVID-19) อาสาสมัคสาธาณสุขตำบลทับช้างจึงจัดทำโครงการป้องโควิด-19โดย อสม. ขึ้น เพื่อรณรงค์ให้ความรู้ จัดทำหน้ากากอนามัย สอนการล้างมื และคัดกรอง ติดตามกลุ่มเสี่ยง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ อสม. มีความรู้ในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโควิด 19 และสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ
- เพื่อให้ อสม.มีความรู้ในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโควิด 19 และสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ
- เพื่อกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามเฝ้าระวังความเสี่ยง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- นัดกลุ่มเป้าหมายมาร่วมอบรมให้ความรู้
- จัดตั้งทีมเคลื่อนที่เร็ว โดย อสม. หมู่บ้านละ 3 คน ในการค้นหากลุ่มเสี่ยงในพื้นที่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อสม. มีความรู้ในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโควิด 19 และสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ 2.ค้นพบผู้ที่เสี่ยงได้อย่างรวดเร็วโดยการรายงานจาก อสม. 3.กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามเฝ้าระวังความเสี่ยง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. นัดกลุ่มเป้าหมายมาร่วมอบรมให้ความรู้ |
||
วันที่ 1 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคโควิดและการปฏิบัติตนในการป้องกันและให้ความรู้เกี่ยวกับการติดตามกลุ่มเสี่ยงตามประกาศของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอสม.มีความรู้เรื่องโรคโควิด รู้ป้องกันโรค รู้การปฏิบัติตน และรู้วิธีการสำรวจค้นหากลุ่มเสี่ยงที่เดินทางเข้ามาในพื้นที่
|
50 | 0 |
2. จัดตั้งทีมเคลื่อนที่เร็ว โดย อสม. หมู่บ้านละ 3 คน ในการค้นหากลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ |
||
วันที่ 1 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำค้นหาและรายงานกลุ่มเสี่ยงตามประกาศของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขที่เดินทางเข้ามาในพื้นที่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ควบคุมป้องกันโรคโควิดได้ทันท่วงที
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ อสม. มีความรู้ในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโควิด 19 และสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ ตัวชี้วัด : อสม. ทำแบบประเมินหลังให้ความรู้ได้คะเเนนผานเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ อสม.มีความรู้ในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโควิด 19 และสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ ตัวชี้วัด : ผลจากการรายงานติดตามกลุ่มเสี่ยงจาก อสม. |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามเฝ้าระวังความเสี่ยง ตัวชี้วัด : ผลจากรายงานการติดตามกลุ่มเสี่ยงครบตามเกณฑ์ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม. มีความรู้ในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโควิด 19 และสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ (2) เพื่อให้ อสม.มีความรู้ในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโควิด 19 และสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ (3) เพื่อกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามเฝ้าระวังความเสี่ยง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) นัดกลุ่มเป้าหมายมาร่วมอบรมให้ความรู้ (2) จัดตั้งทีมเคลื่อนที่เร็ว โดย อสม. หมู่บ้านละ 3 คน ในการค้นหากลุ่มเสี่ยงในพื้นที่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันเฝ้าระวังและติดตามโรคโควิด-19 โดย อสม. จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5198-2-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทับช้าง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......