โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19) ”
ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายกรีฑาพล จิตประพันธ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโส
กรกฎาคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19)
ที่อยู่ ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5170-5-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 เมษายน 2563 ถึง 30 กรกฎาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5170-5-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 เมษายน 2563 - 30 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,030.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ที่มีการระบาดใหญ่ (Pandemic) ไปทั่วโลก (ตามประกาศขององค์การอนามัยโลก,11 มีนาคม 2563) ที่กำลังแพร่ระบาดอยู่ในขณะนี้ทำให้ผู้ป่วยมีอาการปอดอักเสบรุนแรงจนถึงแก่ชีวิตได้ และในปัจจุบันเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 สามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนได้หากมีการสัมผัสกับสารคัดหลั่งของผู้ป่วย
และสถานการณ์การเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีการคัดกรองผู้เดินทางเข้า-ออกที่ท่าอากาศยานคัดกรองเที่ยวบินสะสมตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2563 ถึง วันที่ 24 มีนาคม 2563 รวมทั้งสิ้น 35,044 เที่ยวบิน ผู้เดินทางได้รับการคัดกรองสะสมรวม 4,242,079 ราย พบผู้ป่วยที่มีอาการเข้าได้ตามนิยามการคัดกรองจำนวน 374 ราย การคัดกรองผู้เดินทางที่ท่าเรือตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2563 ถึงวันที่ 24 มีนาคม 2563 มียอดการคัดกรองเรือสะสม 1,101 ลำ มีผู้ที่เดินทางได้รับการคัดกรอง สะสมรวม 126,513 ราย พบผู้ป่วยที่มีอาการเข้าได้ตามนิยามการคัดกรองจำนวน 2 ราย การคัดกรองผู้เดินทางผ่านด่านพรมแดนทางบกตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 24 มีนาคม 2563 มีผู้ได้รับการคัดกรองสะสม รวม 1,650,670 ราย และการคัดกรองผู้มาต่ออายุหนังสือเดินทางที่สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองแจ้งวัฒนะตั้งแต่วันที่ 30 มกราคม 2563 ถึง 25 มีนาคม 2563 ได้ทำการคัดกรองรวมทั้งสิ้น 126,338 ราย รวมพบผู้ป่วยที่มีอาการเข้าได้ตามนิยามการคัดกรองที่ช่องทางเข้าออกประเทศ จำนวน 374 ราย พบผู้ป่วยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จำนวน 934 ราย รักษาหายและแพทยืให้กลับบ้าน 88 ราย ผู้ป่วยยืนยันที่เสียชีวิต 4 ราย ผลตรวจผู้ป่วยที่มีอาการตามนิยามเฝ้าระวังที่เหลือ 13,088 ราย ตรวจไม่พบเชื้อ 7,803 ราย และอยู่ระหว่างรอผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ 5,285 ราย(ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน,25 มีนาคม 2563)
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนโส ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งต้องลงพื้นที่เพื่อค้นหาและคัดกรองโรคเบื้องต้นในบุคคลกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากประเทศหรือพื้นที่เสี่ยงในชุมชนหรือในระแวกรับผิดชอบเนื่องจากการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน คือ บทบาทหน้าที่ทั้งการให้บริการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมและป้องกันโรค การเฝ้าระวังโรคระบาดและโรคติดต่อประจำถิ่น โดยการให้การคัดกรองเบื้องต้น ให้คำแนะนำ ถ่ายทอดความรู้แก่คนในชุมชน เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพพลานามัยให้แข็งแรง เกิดการเจ็บป่วยน้อยที่สุด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนโส จึงได้จัดทำโครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19) ขึ้นเพื่อเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019( COVID-19)
- เพื่อให้ชุมชนมีความร่วมมือในการป้องกันตนเองจากโรคโควิด-19
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนในหมู่บ้านไม่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
2.ประชาชนในหมู่บ้านที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงได้รับการคัดกรองโรคเบื้องต้นทุกคน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019( COVID-19)
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อให้ชุมชนมีความร่วมมือในการป้องกันตนเองจากโรคโควิด-19
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019( COVID-19) (2) เพื่อให้ชุมชนมีความร่วมมือในการป้องกันตนเองจากโรคโควิด-19
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5170-5-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายกรีฑาพล จิตประพันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19) ”
ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายกรีฑาพล จิตประพันธ์
กรกฎาคม 2563
ที่อยู่ ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5170-5-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 เมษายน 2563 ถึง 30 กรกฎาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5170-5-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 เมษายน 2563 - 30 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,030.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ที่มีการระบาดใหญ่ (Pandemic) ไปทั่วโลก (ตามประกาศขององค์การอนามัยโลก,11 มีนาคม 2563) ที่กำลังแพร่ระบาดอยู่ในขณะนี้ทำให้ผู้ป่วยมีอาการปอดอักเสบรุนแรงจนถึงแก่ชีวิตได้ และในปัจจุบันเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 สามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนได้หากมีการสัมผัสกับสารคัดหลั่งของผู้ป่วย และสถานการณ์การเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีการคัดกรองผู้เดินทางเข้า-ออกที่ท่าอากาศยานคัดกรองเที่ยวบินสะสมตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2563 ถึง วันที่ 24 มีนาคม 2563 รวมทั้งสิ้น 35,044 เที่ยวบิน ผู้เดินทางได้รับการคัดกรองสะสมรวม 4,242,079 ราย พบผู้ป่วยที่มีอาการเข้าได้ตามนิยามการคัดกรองจำนวน 374 ราย การคัดกรองผู้เดินทางที่ท่าเรือตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2563 ถึงวันที่ 24 มีนาคม 2563 มียอดการคัดกรองเรือสะสม 1,101 ลำ มีผู้ที่เดินทางได้รับการคัดกรอง สะสมรวม 126,513 ราย พบผู้ป่วยที่มีอาการเข้าได้ตามนิยามการคัดกรองจำนวน 2 ราย การคัดกรองผู้เดินทางผ่านด่านพรมแดนทางบกตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 24 มีนาคม 2563 มีผู้ได้รับการคัดกรองสะสม รวม 1,650,670 ราย และการคัดกรองผู้มาต่ออายุหนังสือเดินทางที่สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองแจ้งวัฒนะตั้งแต่วันที่ 30 มกราคม 2563 ถึง 25 มีนาคม 2563 ได้ทำการคัดกรองรวมทั้งสิ้น 126,338 ราย รวมพบผู้ป่วยที่มีอาการเข้าได้ตามนิยามการคัดกรองที่ช่องทางเข้าออกประเทศ จำนวน 374 ราย พบผู้ป่วยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จำนวน 934 ราย รักษาหายและแพทยืให้กลับบ้าน 88 ราย ผู้ป่วยยืนยันที่เสียชีวิต 4 ราย ผลตรวจผู้ป่วยที่มีอาการตามนิยามเฝ้าระวังที่เหลือ 13,088 ราย ตรวจไม่พบเชื้อ 7,803 ราย และอยู่ระหว่างรอผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ 5,285 ราย(ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน,25 มีนาคม 2563) ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนโส ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งต้องลงพื้นที่เพื่อค้นหาและคัดกรองโรคเบื้องต้นในบุคคลกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากประเทศหรือพื้นที่เสี่ยงในชุมชนหรือในระแวกรับผิดชอบเนื่องจากการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน คือ บทบาทหน้าที่ทั้งการให้บริการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมและป้องกันโรค การเฝ้าระวังโรคระบาดและโรคติดต่อประจำถิ่น โดยการให้การคัดกรองเบื้องต้น ให้คำแนะนำ ถ่ายทอดความรู้แก่คนในชุมชน เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพพลานามัยให้แข็งแรง เกิดการเจ็บป่วยน้อยที่สุด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนโส จึงได้จัดทำโครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19) ขึ้นเพื่อเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019( COVID-19)
- เพื่อให้ชุมชนมีความร่วมมือในการป้องกันตนเองจากโรคโควิด-19
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนในหมู่บ้านไม่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2.ประชาชนในหมู่บ้านที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงได้รับการคัดกรองโรคเบื้องต้นทุกคน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019( COVID-19) ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ชุมชนมีความร่วมมือในการป้องกันตนเองจากโรคโควิด-19 ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019( COVID-19) (2) เพื่อให้ชุมชนมีความร่วมมือในการป้องกันตนเองจากโรคโควิด-19
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5170-5-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายกรีฑาพล จิตประพันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......