กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ผสมผสานการออกกำลังกายแบบบาสโลบ ปีงบประมาณ 2563 ”
ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางธนัสพร ฆังวารี




ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ผสมผสานการออกกำลังกายแบบบาสโลบ ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5209-10.2-026 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ผสมผสานการออกกำลังกายแบบบาสโลบ ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ผสมผสานการออกกำลังกายแบบบาสโลบ ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ผสมผสานการออกกำลังกายแบบบาสโลบ ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5209-10.2-026 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,028.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง เป็นต้น ซึ่งเป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบ ทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ความพิการและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร โดยสาเหตุส่วนใหญ่มาจากปัจจัยการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไป เช่น การมีกิจกรรมทางกายน้อย การบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบของเกลือ และไขมันสูง การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการสูบบุหรี่ และการสูบบุหรี่ ซึ่งนำมาสู่ภาวะโรคที่เพิ่มขึ้น (กลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค, ๒๕๖๑; WHO, ๒๕๕๖) สำหรับสถานการณ์ความดันโลหิตสูงในประเทศไทย จากข้อมูลนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุขพบว่า อัตราการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คน ในรอบ ๕ ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.๒๕๕๖ – ๒๕๖๐) เพิ่มขึ้นจาก ๑๒,๓๔๒.๑๔ (จำนวน ๓,๙๓๖,๑๗๑ คน) เป็น ๑๔,๙๒๖.๔๗ (จำนวน ๕,๕๙๗,๖๗๑ คน) และจากข้อมูลศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่าอัตราการป่วยใหม่ของโรคความดันโลหิตสูง ต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คน ในรอบ ๓ ปีที่ผ่านมา (๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) เพิ่มขึ้นจาก ๙๑๖.๘๙ (จำนวน ๕๔๐,๐๑๓ คน) เป็น ๑,๓๕๓.๐๑ (จำนวน ๘๑๓,๔๘๕ คน) (กลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค, ๒๕๖๑) และสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้รายงานสถานการณ์การป่วยเป็นโรคเบาหวานของคนไทย ระหว่างพ.ศ. ๒๕๕๕ กับ พ.ศ. ๒๕๕๘ เพิ่มขึ้นจาก ๑๓.๒ ต่อแสนประชากร เพิ่มเป็น ๑๗.๘ ต่อแสนประชากร และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งสอดคล้องกับอัตราป่วยใหม่ของโรคเบาหวานต่อแสนประชากรในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านป่ายาง ในระยะ ๓ ปี ที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยปี พ.ศ.๒๕๖๐ เท่ากับ ๑๗๒.๘๔ ปี พ.ศ.๒๕๖๑ เพิ่มขึ้นเป็น ๒๔๒.๒๓ และในปี พ.ศ.๒๕๖๒ เพิ่มขึ้นเป็น ๓๓๘.๔๑ ตามลำดับ (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา, ๒๕๖๓) โดยการเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานยังก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ตามมา เช่น โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง (CKD) โรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม องค์การอนามัยโลก (WHO) กล่าวว่านอกจากการบริการทางคลินิกแล้ว การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีความสำคัญและจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรคติดต่อดังกล่าว ดังนั้นเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ ๘ ต.ท่าช้าง อ.บางกล่ำ จ.สงขลา จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง รวมทั้งโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง จึงได้จัดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ผสมผสานการออกกำลังกายแบบบาสโลบ ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องถึงพฤติกรรมของการเกิดโรค และสามารถการจัดการตนเองเพื่อป้องกันการเกิดโรค ตลอดจนดำรงรักษาสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี และเกิดการปรับปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้อย่างยั่งยืนต่อไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 30
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ประชากรกลุ่มเสี่ยงสามารถนำความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพไปใช้ในการจัดการสุขภาพของตนเองอย่างต่อเนื่อง และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปแนะนำให้แก่บุคคลในครอบครัว หรือบุคคลอื่น ๆ ได้ ๒. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลดลง หรือไม่เพิ่มขึ้น
    ๓. ผู้ป่วยรายเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง วัตถุประสงค์


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง เป็นต้น ซึ่งเป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบ ทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ความพิการและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร โดยสาเหตุส่วนใหญ่มาจากปัจจัยการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไป เช่น การมีกิจกรรมทางกายน้อย การบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบของเกลือ และไขมันสูง การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการสูบบุหรี่ และการสูบบุหรี่ ซึ่งนำมาสู่ภาวะโรคที่เพิ่มขึ้น (กลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค, ๒๕๖๑; WHO, ๒๕๕๖) สำหรับสถานการณ์ความดันโลหิตสูงในประเทศไทย จากข้อมูลนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุขพบว่า อัตราการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คน ในรอบ ๕ ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.๒๕๕๖ – ๒๕๖๐) เพิ่มขึ้นจาก ๑๒,๓๔๒.๑๔ (จำนวน ๓,๙๓๖,๑๗๑ คน) เป็น ๑๔,๙๒๖.๔๗ (จำนวน ๕,๕๙๗,๖๗๑ คน) และจากข้อมูลศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่าอัตราการป่วยใหม่ของโรคความดันโลหิตสูง ต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คน ในรอบ ๓ ปีที่ผ่านมา (๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) เพิ่มขึ้นจาก ๙๑๖.๘๙ (จำนวน ๕๔๐,๐๑๓ คน) เป็น ๑,๓๕๓.๐๑ (จำนวน ๘๑๓,๔๘๕ คน) (กลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค, ๒๕๖๑) และสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้รายงานสถานการณ์การป่วยเป็นโรคเบาหวานของคนไทย ระหว่างพ.ศ. ๒๕๕๕ กับ พ.ศ. ๒๕๕๘ เพิ่มขึ้นจาก ๑๓.๒ ต่อแสนประชากร เพิ่มเป็น ๑๗.๘ ต่อแสนประชากร และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งสอดคล้องกับอัตราป่วยใหม่ของโรคเบาหวานต่อแสนประชากรในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านป่ายาง ในระยะ ๓ ปี ที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยปี พ.ศ.๒๕๖๐ เท่ากับ ๑๗๒.๘๔ ปี พ.ศ.๒๕๖๑ เพิ่มขึ้นเป็น ๒๔๒.๒๓ และในปี พ.ศ.๒๕๖๒ เพิ่มขึ้นเป็น ๓๓๘.๔๑ ตามลำดับ (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา, ๒๕๖๓) โดยการเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานยังก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ตามมา เช่น โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง (CKD) โรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม องค์การอนามัยโลก (WHO) กล่าวว่านอกจากการบริการทางคลินิกแล้ว การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีความสำคัญและจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรคติดต่อดังกล่าว ดังนั้นเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ ๘ ต.ท่าช้าง อ.บางกล่ำ จ.สงขลา จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง รวมทั้งโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง จึงได้จัดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ผสมผสานการออกกำลังกายแบบบาสโลบ ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องถึงพฤติกรรมของการเกิดโรค และสามารถการจัดการตนเองเพื่อป้องกันการเกิดโรค ตลอดจนดำรงรักษาสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี และเกิดการปรับปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้อย่างยั่งยืนต่อไป
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ๑. ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก ๓ อ. ๒ ส. ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ๒. ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก ๓ อ. ๒ ส. ผสมผสานการออกกำลังกายแบบบาสโลบ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 30
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง เป็นต้น ซึ่งเป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบ ทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ความพิการและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร โดยสาเหตุส่วนใหญ่มาจากปัจจัยการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไป เช่น การมีกิจกรรมทางกายน้อย การบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบของเกลือ และไขมันสูง การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการสูบบุหรี่ และการสูบบุหรี่ ซึ่งนำมาสู่ภาวะโรคที่เพิ่มขึ้น (กลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค, ๒๕๖๑; WHO, ๒๕๕๖) สำหรับสถานการณ์ความดันโลหิตสูงในประเทศไทย จากข้อมูลนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุขพบว่า อัตราการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คน ในรอบ ๕ ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.๒๕๕๖ – ๒๕๖๐) เพิ่มขึ้นจาก ๑๒,๓๔๒.๑๔ (จำนวน ๓,๙๓๖,๑๗๑ คน) เป็น ๑๔,๙๒๖.๔๗ (จำนวน ๕,๕๙๗,๖๗๑ คน) และจากข้อมูลศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่าอัตราการป่วยใหม่ของโรคความดันโลหิตสูง ต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คน ในรอบ ๓ ปีที่ผ่านมา (๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) เพิ่มขึ้นจาก ๙๑๖.๘๙ (จำนวน ๕๔๐,๐๑๓ คน) เป็น ๑,๓๕๓.๐๑ (จำนวน ๘๑๓,๔๘๕ คน) (กลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค, ๒๕๖๑)  และสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้รายงานสถานการณ์การป่วยเป็นโรคเบาหวานของคนไทย ระหว่างพ.ศ. ๒๕๕๕ กับ พ.ศ. ๒๕๕๘ เพิ่มขึ้นจาก ๑๓.๒ ต่อแสนประชากร เพิ่มเป็น ๑๗.๘ ต่อแสนประชากร และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งสอดคล้องกับอัตราป่วยใหม่ของโรคเบาหวานต่อแสนประชากรในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านป่ายาง ในระยะ ๓ ปี ที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยปี พ.ศ.๒๕๖๐ เท่ากับ ๑๗๒.๘๔ ปี พ.ศ.๒๕๖๑ เพิ่มขึ้นเป็น ๒๔๒.๒๓ และในปี พ.ศ.๒๕๖๒ เพิ่มขึ้นเป็น ๓๓๘.๔๑ ตามลำดับ (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา, ๒๕๖๓) โดยการเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานยังก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ตามมา เช่น โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง (CKD) โรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม องค์การอนามัยโลก (WHO) กล่าวว่านอกจากการบริการทางคลินิกแล้ว การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีความสำคัญและจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรคติดต่อดังกล่าว  ดังนั้นเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ ๘ ต.ท่าช้าง อ.บางกล่ำ จ.สงขลา จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง รวมทั้งโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง จึงได้จัดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ผสมผสานการออกกำลังกายแบบบาสโลบ ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องถึงพฤติกรรมของการเกิดโรค และสามารถการจัดการตนเองเพื่อป้องกันการเกิดโรค ตลอดจนดำรงรักษาสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี และเกิดการปรับปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้อย่างยั่งยืนต่อไป

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ผสมผสานการออกกำลังกายแบบบาสโลบ ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 63-L5209-10.2-026

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางธนัสพร ฆังวารี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด