โครงการอบรมให้ความรู้และรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี2563
ชื่อโครงการ | โครงการอบรมให้ความรู้และรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี2563 |
รหัสโครงการ | 63–L5209-10.2-033 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมโคกเมาร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก |
วันที่อนุมัติ | 22 เมษายน 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 96,400.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวทวีพร สันเบ็ญหมัด |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.048,100.378place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมาเนื่องจากความรุนแรงของโรคไข้เลือดออกส่งผลต่อสุขภาพของผู้ป่วยเอง ชุมชน สังคม ตามลำดับ จากสถานการณ์ ๕ ปีย้อนหลังในเขตพื้นที่รับผิดชอบพบว่า ปี ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ พบผู้ป่วยจำนวน ๓๒,๒๐,๑๖,๒๓ คน ตามลำดับ ในเขตพื้นที่หมู่ ๗,๑๑และ๑๒ ซึ่งเกิดจากสภาพแวะล้อมและพื้นที่ที่เหมาะต่อการเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของโรค
ในพื้นที่ของคลินิกชุมชนโคกเมาพบผู้ป่วยไข้เลือดออกและอาการเข้าข่ายโรคไข้เลือดออกในพื้นที่มีอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากชุมชนโคกเมาเป็นสังคมกึ่งเมืองที่มีพื้นที่ที่ติดต่อกับเขตอำเภอหาดใหญ่ และสภาพแวดล้อมที่เหมาะต่อการเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เกิดจากพฤติกรรมของประชาชนในชุมชน
ดังนั้นทางชมรมโคกเมาร่วมใจ ต้านภัยยาเสพติด ได้เล็งเห็นความปลอดภัยของประชาชนในพื้นที่ จึงมีมาตรการในการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคในระยะรัศมี ๑๐๐ เมตร ตามมาตรการ ๓-๑-๑ ที่ใช้ในการควบคุมการระบาดของโรคได้อย่างทันถ่วงที
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมาเนื่องจากความรุนแรงของโรคไข้เลือดออกส่งผลต่อสุขภาพของผู้ป่วยเอง ชุมชน สังคม ตามลำดับ จากสถานการณ์ ๕ ปีย้อนหลังในเขตพื้นที่รับผิดชอบพบว่า ปี ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ พบผู้ป่วยจำนวน ๓๒,๒๐,๑๖,๒๓ คน ตามลำดับ ในเขตพื้นที่หมู่ ๗,๑๑และ๑๒ ซึ่งเกิดจากสภาพแวะล้อมและพื้นที่ที่เหมาะต่อการเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของโรค
ในพื้นที่ของคลินิกชุมชนโคกเมาพบผู้ป่วยไข้เลือดออกและอาการเข้าข่ายโรคไข้เลือดออกในพื้นที่มีอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากชุมชนโคกเมาเป็นสังคมกึ่งเมืองที่มีพื้นที่ที่ติดต่อกับเขตอำเภอหาดใหญ่ และสภาพแวดล้อมที่เหมาะต่อการเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เกิดจากพฤติกรรมของประชาชนในชุมชน
ดังนั้นทางชมรมโคกเมาร่วมใจ ต้านภัยยาเสพติด ได้เล็งเห็นความปลอดภัยของประชาชนในพื้นที่ จึงมีมาตรการในการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคในระยะรัศมี ๑๐๐ เมตร ตามมาตรการ ๓-๑-๑ ที่ใช้ในการควบคุมการระบาดของโรคได้อย่างทันถ่วงที ผลการทดสอบความรู้หลังการอบรม(Post Test) เพิ่มขึ้นร้อยละ ๘๐ |
0.00 |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1. เขียนโครงการฯและขออนุมัติ 2. จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการและจัดนิทรรศการเรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนและสถานศึกษา 3. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง 2.ครูและนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคไข้เลือดออกมากขึ้น 3.ประชาชนมีความรู้และตระหนักถึงปัญหาโรคไข้เลือดออกมากขึ้น 4.สภาพแวดล้อมในชุมชนสะอาด ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์นำโรค
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 เม.ย. 2563 09:49 น.