โครงการบ้านบ่อแพ รวมพลัง 3อ.2ส.พิชิตโรค
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการบ้านบ่อแพ รวมพลัง 3อ.2ส.พิชิตโรค ”
ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอบีอะ หมัดอะดั้ม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการบ้านบ่อแพ รวมพลัง 3อ.2ส.พิชิตโรค
ที่อยู่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5209-10.2-045 เลขที่ข้อตกลง 117/63
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบ้านบ่อแพ รวมพลัง 3อ.2ส.พิชิตโรค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านบ่อแพ รวมพลัง 3อ.2ส.พิชิตโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบ้านบ่อแพ รวมพลัง 3อ.2ส.พิชิตโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5209-10.2-045 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,810.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาสุขภาพที่เป็นสาเหตุการตายอันดับแรกๆของประเทศไทย คือ โรคมะเร็งทุกชนิด โรคหลอดเลือดในสมอง โรคเบาหวาน มีอัตราตาย 11.7,48.7 และ 22.3 ต่อแสนประชากรตามลำดับ(ข้อมูลจากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข รายงานอัตราตายของประชากรไทยในปี2559) ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง คือขาดการออกกำลังกาย มีการรับประทานอาหารไม่เหมาะสมและไม่เพียงพอ แม้ประชาชนจะมีความรู้ แต่ยังไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องและผลการสำรวจกิจกรรมทางกายของประชากร 15 ปี ขึ้นไป ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ในปี 2558 พบว่าประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปที่ มีกิจกรรมทางกาย พบว่ามีการเล่นกีฬา/ออกกำลังกาย หรือทำกิจกรรมนันทนาการ ระดับหนักหรือปานกลาง เพียงร้อยละ 23.4 ซึ่งจำเป็นมักจะต้องได้รับการส่งเสริมให้มีการออกกำลังกายที่เพิ่มขึ้น ประกอบกับการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เหมาะสม การพัฒนาอารมณ์และสุขภาพจิต ตามหลัก 3อ2ส เพื่อเกิดพฤติกรรมสุขภาพที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดีเพิ่มขึ้น
จากการสำรวจปัญหาด้านสุขภาพในพื้นที่หมู่ที่ 12 ต.ท่าช้าง อ.บางกล่ำ จ.สงขลา พบว่า ปัญหา สามอันดับที่สำคัญ ได้แก่ โรคอ้วน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคสามารถส่งเสริมและกระตุ้นให้ประชาชนได้เรียนรู้ด้านสุขภาพ มีทักษะและมีปัจจัยเอื้อในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
คณะกรรมการหมู่บ้านและอาสาสมัครสาธารณสุขได้ร่วมกันทบทวนบริบทด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ มีความเห็นร่วมกันว่า พื้นที่ชุมชนบ้านบ่อแพเป็นพื้นที่รอยต่อระหว่างเมืองกับชนบท วิถีชีวิตของคนส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับภารกิจด้านเศรษฐกิจจนไม่มีเวลาใส่ใจด้านสุขภาพ โดยเฉพาะด้านการบริโภคอาหาร อาหารสดที่จำหน่ายในแผงลอยเป็นพืช ผักจากตลาดค้าส่ง ซึ่งบางส่วนปนเปื้อนสารเคมี อาหารสำเร็จรูปในร้านค้ามักเป็นอาหารที่มีไขมันสูง เช่น แกงกะทิ อาหารทอด เป็นต้น
เหล่านี้ล้วนเป็นอาหารที่มีส่งผลต่อสุขภาพของผู้บริโภคในระยะยาว เช่น โรคความดัน เบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง เป็นต้น การร่วมรณรงค์ให้ชุมชนตระหนักและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการบริโภคอาหารที่ถูกต้องร่วมกับส่งเสริมการออกกำลังกาย จึงเป็นสิ่งสำคัญที่ควรดำเนินการอย่างต่อเนื่อง รูปแบบการดำเนินงานโดยการร่วมจัดทำแผนงานด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของคนในชุมชน ส่งเสริมให้คนในชุมชนหันมาปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษไว้บริโภคและจำหน่ายในชุมชน มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทุกเดือน มีกิจกรรมออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง ประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านการบริโภคอาหารที่ถูกต้องและการออกกำลังกาย เพื่อลดความเสี่ยงต่อความเจ็บป่วยและการเกิดโรคเรื้อรังในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เกิด หมู่บ้านต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละอย่างน้อย 30 นาทีร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละ อย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารหวานมันเค็ม 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลอดอาหารหวานมันเค็ม 3.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละ อย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารหวานมันเค็ม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินงานรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในพื้นที่
2. ประชาชนได้รับความรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย
3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเรื่องการการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้เกิด หมู่บ้านต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละอย่างน้อย 30 นาทีร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละ อย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารหวานมันเค็ม 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลอดอาหารหวานมันเค็ม 3.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละ อย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารหวานมันเค็ม
ตัวชี้วัด : 1.ม.12เป็นหมู่บ้านต้นแบบ
2.ร้อยละ 75 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารหวานมันเค็ม
3.ร้อยละ75 ของภาคเครือข่าย ส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์อย่างน้อย 3-5 วันๆละ อย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารหวานมันเค็ม
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
140
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เกิด หมู่บ้านต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละอย่างน้อย 30 นาทีร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละ อย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารหวานมันเค็ม 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลอดอาหารหวานมันเค็ม 3.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละ อย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารหวานมันเค็ม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการบ้านบ่อแพ รวมพลัง 3อ.2ส.พิชิตโรค จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5209-10.2-045
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวรอบีอะ หมัดอะดั้ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการบ้านบ่อแพ รวมพลัง 3อ.2ส.พิชิตโรค ”
ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอบีอะ หมัดอะดั้ม
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5209-10.2-045 เลขที่ข้อตกลง 117/63
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบ้านบ่อแพ รวมพลัง 3อ.2ส.พิชิตโรค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านบ่อแพ รวมพลัง 3อ.2ส.พิชิตโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบ้านบ่อแพ รวมพลัง 3อ.2ส.พิชิตโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5209-10.2-045 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,810.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาสุขภาพที่เป็นสาเหตุการตายอันดับแรกๆของประเทศไทย คือ โรคมะเร็งทุกชนิด โรคหลอดเลือดในสมอง โรคเบาหวาน มีอัตราตาย 11.7,48.7 และ 22.3 ต่อแสนประชากรตามลำดับ(ข้อมูลจากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข รายงานอัตราตายของประชากรไทยในปี2559) ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง คือขาดการออกกำลังกาย มีการรับประทานอาหารไม่เหมาะสมและไม่เพียงพอ แม้ประชาชนจะมีความรู้ แต่ยังไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องและผลการสำรวจกิจกรรมทางกายของประชากร 15 ปี ขึ้นไป ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ในปี 2558 พบว่าประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปที่ มีกิจกรรมทางกาย พบว่ามีการเล่นกีฬา/ออกกำลังกาย หรือทำกิจกรรมนันทนาการ ระดับหนักหรือปานกลาง เพียงร้อยละ 23.4 ซึ่งจำเป็นมักจะต้องได้รับการส่งเสริมให้มีการออกกำลังกายที่เพิ่มขึ้น ประกอบกับการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เหมาะสม การพัฒนาอารมณ์และสุขภาพจิต ตามหลัก 3อ2ส เพื่อเกิดพฤติกรรมสุขภาพที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดีเพิ่มขึ้น จากการสำรวจปัญหาด้านสุขภาพในพื้นที่หมู่ที่ 12 ต.ท่าช้าง อ.บางกล่ำ จ.สงขลา พบว่า ปัญหา สามอันดับที่สำคัญ ได้แก่ โรคอ้วน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคสามารถส่งเสริมและกระตุ้นให้ประชาชนได้เรียนรู้ด้านสุขภาพ มีทักษะและมีปัจจัยเอื้อในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ คณะกรรมการหมู่บ้านและอาสาสมัครสาธารณสุขได้ร่วมกันทบทวนบริบทด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ มีความเห็นร่วมกันว่า พื้นที่ชุมชนบ้านบ่อแพเป็นพื้นที่รอยต่อระหว่างเมืองกับชนบท วิถีชีวิตของคนส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับภารกิจด้านเศรษฐกิจจนไม่มีเวลาใส่ใจด้านสุขภาพ โดยเฉพาะด้านการบริโภคอาหาร อาหารสดที่จำหน่ายในแผงลอยเป็นพืช ผักจากตลาดค้าส่ง ซึ่งบางส่วนปนเปื้อนสารเคมี อาหารสำเร็จรูปในร้านค้ามักเป็นอาหารที่มีไขมันสูง เช่น แกงกะทิ อาหารทอด เป็นต้น เหล่านี้ล้วนเป็นอาหารที่มีส่งผลต่อสุขภาพของผู้บริโภคในระยะยาว เช่น โรคความดัน เบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง เป็นต้น การร่วมรณรงค์ให้ชุมชนตระหนักและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการบริโภคอาหารที่ถูกต้องร่วมกับส่งเสริมการออกกำลังกาย จึงเป็นสิ่งสำคัญที่ควรดำเนินการอย่างต่อเนื่อง รูปแบบการดำเนินงานโดยการร่วมจัดทำแผนงานด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของคนในชุมชน ส่งเสริมให้คนในชุมชนหันมาปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษไว้บริโภคและจำหน่ายในชุมชน มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทุกเดือน มีกิจกรรมออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง ประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านการบริโภคอาหารที่ถูกต้องและการออกกำลังกาย เพื่อลดความเสี่ยงต่อความเจ็บป่วยและการเกิดโรคเรื้อรังในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เกิด หมู่บ้านต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละอย่างน้อย 30 นาทีร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละ อย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารหวานมันเค็ม 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลอดอาหารหวานมันเค็ม 3.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละ อย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารหวานมันเค็ม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 70 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 70 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินงานรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ 2. ประชาชนได้รับความรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย 3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเรื่องการการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้เกิด หมู่บ้านต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละอย่างน้อย 30 นาทีร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละ อย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารหวานมันเค็ม 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลอดอาหารหวานมันเค็ม 3.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละ อย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารหวานมันเค็ม ตัวชี้วัด : 1.ม.12เป็นหมู่บ้านต้นแบบ 2.ร้อยละ 75 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารหวานมันเค็ม 3.ร้อยละ75 ของภาคเครือข่าย ส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์อย่างน้อย 3-5 วันๆละ อย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารหวานมันเค็ม |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 140 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 70 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เกิด หมู่บ้านต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละอย่างน้อย 30 นาทีร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละ อย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารหวานมันเค็ม 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลอดอาหารหวานมันเค็ม 3.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละ อย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารหวานมันเค็ม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการบ้านบ่อแพ รวมพลัง 3อ.2ส.พิชิตโรค จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5209-10.2-045
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวรอบีอะ หมัดอะดั้ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......