โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ”
ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสมิตา เบ็ญยู่โสะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
ที่อยู่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5209-10.2.046 เลขที่ข้อตกลง 118/63
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5209-10.2.046 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การมีสุขภาพดี เริ่มต้นที่การมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง การที่จะมี พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ต้องอาศัยตัวเราเองและการมีส่วนร่วมของครอบครัว และชุมชนเป็นสำคัญ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยให้ความสำคัญกับแนวความคิดการมีส่วนร่วมของชุมชน และความรับผิดชอบของชุมชน ซึ่งชุมชนจะต้องมีความรู้สึกเป็นเจ้าของ เห็นคุณค่าและมีทัศนคติที่ดีต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การเข้าใจถึงปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อและการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ จะทำให้การส่งเสริมสุขภาพประสบผลสำเร็จ ได้รับความร่วมมือจากกลุ่มเป้าหมายและนำไปสู่สุขภาวะที่สมบูรณ์และยั่งยืนได้
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมก็เช่นเดียวกัน การจัดสถานที่ที่เหมาะสม มีลานกีฬาในการออกกำลังกาย ในชุมชน การให้ประชาชนกินผักที่ปลอดภัย ต้องส่งเสริมให้ประชาชน มีการปลูกผักและกินผักที่ปลูก หรือเลือกซื้อผักที่ปลอดสารพิษ การรณรงค์ให้ใช้ถุงผ้าแทนการใช้ถุงพลาสติก ในปัจจุบันนี้หลายองค์กรมีการรณรงค์ลดการใช้ถุงพลาสติก เพราะถุงพลาสติกเป็นปัญหาหลักของภาวะโลกร้อน ซึ่งปัญหาหลัก ๆ ก็มาจากประชาชนที่เป็นตัวการสำคัญในการใช้พลาสติก โฟม หรือสิ่งที่ย่อยด้วยตัวเองไม่ได้ อีกทั้งการใช้ถุงพลาสติก หลอดพลาสติก ล้วนแล้วแต่เป็นต้นเหตุของขยะมูลฝอยที่ต้องใช้เวลาหลายร้อยปีในการย่อยสลาย นอกจากนี้ในการทำลายพลาสติกคนส่วนมากจะเผาซึ่งทำให้เกิดสารพิษในชั้นบรรยากาศ หากสะสมอยู่ในร่างกายมาก ๆ อาจเกิดอันตรายถึงชีวิตได้ ด้วยเหตุนี้การลดใช้ถุงพลาสติกจึงเป็นสิ่งที่ควรตระหนักอย่างมากในปัจจุบัน
คลินิกชุมชนโคกเมาให้บริการผู้ป่วยโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูง 1 ครั้งต่อเดือน โดย มีแพทย์ เภสัชกร และทีมสหวิชาชีพ จากโรงพยาบาลบางกล่ำ มาให้บริการในทุกวันพฤหัสบดี ที่ 3 ของทุกเดือน ซึ่งในการให้บริการแต่ละเดือน มีผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมารับบริการโดยเฉลี่ยเดือนละ 85-100 คน จากนโยบายลดโฟม ลดการใช้ถุงพลาสติก ทางโรงพยาบาลบางกล่ำ ซึ่งเป็นโรงพยาบาลแม่ข่าย งดการจ่ายถุงพลาสติกสำหรับใส่ยาให้กับผู้ป่วยด้วยเช่นกัน ทำให้ผู้ป่วยต้องนำถุงพลาสติกมาเอง ซึ่งนอกจากจะเกิดความไม่สะดวกกับผู้ป่วยแล้ว อาจจะส่งผลเสียต่อยาบางชนิดที่ต้องเก็บให้พ้นแสง เนื่องจากหากถูกแสงอาจทำให้ยาเสื่อมสภาพได้ คลินิกชุมชนโคกเมาจึงเล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพโดยการใช้ถุงผ้าแทนการใช้ถุงพลาสติก เพื่อตอบสนองนโยบายลดภาวะโลกร้อน ลดขยะพลาสติก สร้างสิ่งแวดล้อมที่น่าอยู่ให้กับชุมชน และเพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับโรคที่เป็นอยู่ 2.เพื่อรณรงค์ให้ผู้ป่วยลด/เลิกการใช้ถุงพลาสติก และโฟม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับโรคที่เป็นอยู่ได้
2.ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถลด/เลิกการใช้ถุงพลาสติก โฟม เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับโรคที่เป็นอยู่ 2.เพื่อรณรงค์ให้ผู้ป่วยลด/เลิกการใช้ถุงพลาสติก และโฟม
ตัวชี้วัด : - ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
- ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มารับบริการคลินิกชุมชนโคกเมาใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก ร้อยละ 100
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับโรคที่เป็นอยู่ 2.เพื่อรณรงค์ให้ผู้ป่วยลด/เลิกการใช้ถุงพลาสติก และโฟม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5209-10.2.046
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสมิตา เบ็ญยู่โสะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ”
ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสมิตา เบ็ญยู่โสะ
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5209-10.2.046 เลขที่ข้อตกลง 118/63
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5209-10.2.046 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การมีสุขภาพดี เริ่มต้นที่การมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง การที่จะมี พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ต้องอาศัยตัวเราเองและการมีส่วนร่วมของครอบครัว และชุมชนเป็นสำคัญ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยให้ความสำคัญกับแนวความคิดการมีส่วนร่วมของชุมชน และความรับผิดชอบของชุมชน ซึ่งชุมชนจะต้องมีความรู้สึกเป็นเจ้าของ เห็นคุณค่าและมีทัศนคติที่ดีต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การเข้าใจถึงปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อและการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ จะทำให้การส่งเสริมสุขภาพประสบผลสำเร็จ ได้รับความร่วมมือจากกลุ่มเป้าหมายและนำไปสู่สุขภาวะที่สมบูรณ์และยั่งยืนได้ ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมก็เช่นเดียวกัน การจัดสถานที่ที่เหมาะสม มีลานกีฬาในการออกกำลังกาย ในชุมชน การให้ประชาชนกินผักที่ปลอดภัย ต้องส่งเสริมให้ประชาชน มีการปลูกผักและกินผักที่ปลูก หรือเลือกซื้อผักที่ปลอดสารพิษ การรณรงค์ให้ใช้ถุงผ้าแทนการใช้ถุงพลาสติก ในปัจจุบันนี้หลายองค์กรมีการรณรงค์ลดการใช้ถุงพลาสติก เพราะถุงพลาสติกเป็นปัญหาหลักของภาวะโลกร้อน ซึ่งปัญหาหลัก ๆ ก็มาจากประชาชนที่เป็นตัวการสำคัญในการใช้พลาสติก โฟม หรือสิ่งที่ย่อยด้วยตัวเองไม่ได้ อีกทั้งการใช้ถุงพลาสติก หลอดพลาสติก ล้วนแล้วแต่เป็นต้นเหตุของขยะมูลฝอยที่ต้องใช้เวลาหลายร้อยปีในการย่อยสลาย นอกจากนี้ในการทำลายพลาสติกคนส่วนมากจะเผาซึ่งทำให้เกิดสารพิษในชั้นบรรยากาศ หากสะสมอยู่ในร่างกายมาก ๆ อาจเกิดอันตรายถึงชีวิตได้ ด้วยเหตุนี้การลดใช้ถุงพลาสติกจึงเป็นสิ่งที่ควรตระหนักอย่างมากในปัจจุบัน คลินิกชุมชนโคกเมาให้บริการผู้ป่วยโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูง 1 ครั้งต่อเดือน โดย มีแพทย์ เภสัชกร และทีมสหวิชาชีพ จากโรงพยาบาลบางกล่ำ มาให้บริการในทุกวันพฤหัสบดี ที่ 3 ของทุกเดือน ซึ่งในการให้บริการแต่ละเดือน มีผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมารับบริการโดยเฉลี่ยเดือนละ 85-100 คน จากนโยบายลดโฟม ลดการใช้ถุงพลาสติก ทางโรงพยาบาลบางกล่ำ ซึ่งเป็นโรงพยาบาลแม่ข่าย งดการจ่ายถุงพลาสติกสำหรับใส่ยาให้กับผู้ป่วยด้วยเช่นกัน ทำให้ผู้ป่วยต้องนำถุงพลาสติกมาเอง ซึ่งนอกจากจะเกิดความไม่สะดวกกับผู้ป่วยแล้ว อาจจะส่งผลเสียต่อยาบางชนิดที่ต้องเก็บให้พ้นแสง เนื่องจากหากถูกแสงอาจทำให้ยาเสื่อมสภาพได้ คลินิกชุมชนโคกเมาจึงเล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพโดยการใช้ถุงผ้าแทนการใช้ถุงพลาสติก เพื่อตอบสนองนโยบายลดภาวะโลกร้อน ลดขยะพลาสติก สร้างสิ่งแวดล้อมที่น่าอยู่ให้กับชุมชน และเพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับโรคที่เป็นอยู่ 2.เพื่อรณรงค์ให้ผู้ป่วยลด/เลิกการใช้ถุงพลาสติก และโฟม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 100 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับโรคที่เป็นอยู่ได้ 2.ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถลด/เลิกการใช้ถุงพลาสติก โฟม เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับโรคที่เป็นอยู่ 2.เพื่อรณรงค์ให้ผู้ป่วยลด/เลิกการใช้ถุงพลาสติก และโฟม ตัวชี้วัด : - ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 - ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มารับบริการคลินิกชุมชนโคกเมาใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก ร้อยละ 100 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับโรคที่เป็นอยู่ 2.เพื่อรณรงค์ให้ผู้ป่วยลด/เลิกการใช้ถุงพลาสติก และโฟม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5209-10.2.046
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสมิตา เบ็ญยู่โสะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......