โครงการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ และวัสดุที่ใช้ในการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ และวัสดุที่ใช้ในการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ”
ตำบลลิพัง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอรอุมา ด้วงแก้ว นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิพัง
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ และวัสดุที่ใช้ในการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
ที่อยู่ ตำบลลิพัง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1486-5-02 เลขที่ข้อตกลง 02/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ และวัสดุที่ใช้ในการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลิพัง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิพัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ และวัสดุที่ใช้ในการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ และวัสดุที่ใช้ในการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลิพัง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1486-5-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิพัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก “Coronavirus disease 2019” เป็นตระกูล เดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมือปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลันปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มลฑลหูเป่ย ประเทศจีน จากที่มีผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวัดใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและได้ว่าเป็นเชื้อ ไวรัสโคโรนา ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ 7 ที่ถูกค้นพบ เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) และเมอร์ส (MERS) ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19) ตามที่ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินกระทรวงสาธารณสุข ได้แจ้งสถานการณ์ในประเทศไทย ข้อมูลตั้งแต่ 15 เมษายน 2563 พบ ผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อจำนวน ๒,643 ราย เสียชีวิต 43 ราย โดยมีผู้ป่วยกระจายทั่วทุกภาคของประเทศไทย เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ยังคงระบาดอย่างต่อเนื่องและมียอดผู้ติดเชื้อเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับจังหวัดตรังได้มีคำสั่งจัดตั้งจุดสกัดดูแลการเดินทางเข้าออกพื้นที่จังหวัดตรัง ตามคำสั่งจังหวัดตรังที่ 850/2563 ลงวันที่ 25 มีนาคม 2563 ทั้งนี้ ได้มอบหมายให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเตรียมสถานที่กักกันไว้สังเกตอาการ พร้อมจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
ตามพระราชบัญญัติสภาตำบล พ.ศ.2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 67(3) บัญญัติให้องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ในการป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ ประกอบกับพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 มาตรา 16(19) เทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล มีอำนาจหน้าที่ในการสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล และตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายเพื่อช่วยเหลือประชาชนตามอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2560 ข้อ 13 กำหนดว่า เมื่อเกิดโรคติดต่อ โรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังหรือโรคระบาด หรือมีเหตุสงสัยว่าได้เกิดโรคดังกล่าวในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใด ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น ดำเนินการหรือสนับสนุนให้มีการป้องกัน การควบคุมการแพร่และการระงับการระบาดของโรคนั้น หรือสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้กับผู้มีภาวะเสี่ยง รวมทั้งการประชาสัมพันธ์องค์ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อ และข้อ 15 กำหนดว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายต่างๆที่เกิดขึ้นในการป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ เช่น ยา เวชภัณฑ์ และวัสดุที่ใช้ในการป้องกันโรคติดต่อ เช่น ถุงมือยางหรือหนัง ผ้าปิดปาก ปิดจมูก รองเท้ายาง เสื้อกันฝน เป็นต้น และตามหนังสือ อำเภอปะเหลียน ที่ ตง0023.9/ว 1254 ลงวันที่ 10 เมษายน 2563 เรื่องมอบหมายให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ดังนั้น สำนักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลลิพัง จึงมีความจำเป็นต้องจัดทำโครงการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลลิพัง เพื่อจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ ยาและเวชภัณฑ์ ต่างๆ สำหรับใช้สำหรับประชาชนที่มาติดต่อราชการและเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในสถานที่กักกันกลางของตำบลลิพัง และป้องการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อไวรัสโคโรน่า 2019 หากมีการระบาดเกิดขึ้นในพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้มี ยา เวชภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันควบคุมโรคติดต่ออย่างเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในสถานที่กักกันกลางของตำบลลิพัง
- เพื่อให้มี ยา เวชภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19)อย่างเพียงพอในการเฝ้าระวังป้องกันประชาชนในตำบลลิพังและประชาชนที่เข้ามาติดต่อราชการในสถานที่ราชการในตำบลลิพัง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มี ยา เวชภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันควบคุมโรคติดต่ออย่างเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
- มี ยา เวชภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออย่างเพียงพอในการเฝ้าระวังป้องกันประชาชนที่เข้ามาติดต่อราชการในสถานที่ราชการในตำบลลิพัง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้มี ยา เวชภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันควบคุมโรคติดต่ออย่างเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในสถานที่กักกันกลางของตำบลลิพัง
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อให้มี ยา เวชภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19)อย่างเพียงพอในการเฝ้าระวังป้องกันประชาชนในตำบลลิพังและประชาชนที่เข้ามาติดต่อราชการในสถานที่ราชการในตำบลลิพัง
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มี ยา เวชภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันควบคุมโรคติดต่ออย่างเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในสถานที่กักกันกลางของตำบลลิพัง (2) เพื่อให้มี ยา เวชภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19)อย่างเพียงพอในการเฝ้าระวังป้องกันประชาชนในตำบลลิพังและประชาชนที่เข้ามาติดต่อราชการในสถานที่ราชการในตำบลลิพัง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ และวัสดุที่ใช้ในการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1486-5-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอรอุมา ด้วงแก้ว นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ และวัสดุที่ใช้ในการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ”
ตำบลลิพัง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอรอุมา ด้วงแก้ว นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลลิพัง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1486-5-02 เลขที่ข้อตกลง 02/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ และวัสดุที่ใช้ในการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลิพัง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิพัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ และวัสดุที่ใช้ในการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ และวัสดุที่ใช้ในการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลิพัง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1486-5-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิพัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก “Coronavirus disease 2019” เป็นตระกูล เดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมือปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลันปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มลฑลหูเป่ย ประเทศจีน จากที่มีผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวัดใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและได้ว่าเป็นเชื้อ ไวรัสโคโรนา ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ 7 ที่ถูกค้นพบ เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) และเมอร์ส (MERS) ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19) ตามที่ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินกระทรวงสาธารณสุข ได้แจ้งสถานการณ์ในประเทศไทย ข้อมูลตั้งแต่ 15 เมษายน 2563 พบ ผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อจำนวน ๒,643 ราย เสียชีวิต 43 ราย โดยมีผู้ป่วยกระจายทั่วทุกภาคของประเทศไทย เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ยังคงระบาดอย่างต่อเนื่องและมียอดผู้ติดเชื้อเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับจังหวัดตรังได้มีคำสั่งจัดตั้งจุดสกัดดูแลการเดินทางเข้าออกพื้นที่จังหวัดตรัง ตามคำสั่งจังหวัดตรังที่ 850/2563 ลงวันที่ 25 มีนาคม 2563 ทั้งนี้ ได้มอบหมายให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเตรียมสถานที่กักกันไว้สังเกตอาการ พร้อมจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
ตามพระราชบัญญัติสภาตำบล พ.ศ.2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 67(3) บัญญัติให้องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ในการป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ ประกอบกับพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 มาตรา 16(19) เทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล มีอำนาจหน้าที่ในการสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล และตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายเพื่อช่วยเหลือประชาชนตามอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2560 ข้อ 13 กำหนดว่า เมื่อเกิดโรคติดต่อ โรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังหรือโรคระบาด หรือมีเหตุสงสัยว่าได้เกิดโรคดังกล่าวในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใด ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น ดำเนินการหรือสนับสนุนให้มีการป้องกัน การควบคุมการแพร่และการระงับการระบาดของโรคนั้น หรือสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้กับผู้มีภาวะเสี่ยง รวมทั้งการประชาสัมพันธ์องค์ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อ และข้อ 15 กำหนดว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายต่างๆที่เกิดขึ้นในการป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ เช่น ยา เวชภัณฑ์ และวัสดุที่ใช้ในการป้องกันโรคติดต่อ เช่น ถุงมือยางหรือหนัง ผ้าปิดปาก ปิดจมูก รองเท้ายาง เสื้อกันฝน เป็นต้น และตามหนังสือ อำเภอปะเหลียน ที่ ตง0023.9/ว 1254 ลงวันที่ 10 เมษายน 2563 เรื่องมอบหมายให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ดังนั้น สำนักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลลิพัง จึงมีความจำเป็นต้องจัดทำโครงการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลลิพัง เพื่อจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ ยาและเวชภัณฑ์ ต่างๆ สำหรับใช้สำหรับประชาชนที่มาติดต่อราชการและเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในสถานที่กักกันกลางของตำบลลิพัง และป้องการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อไวรัสโคโรน่า 2019 หากมีการระบาดเกิดขึ้นในพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้มี ยา เวชภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันควบคุมโรคติดต่ออย่างเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในสถานที่กักกันกลางของตำบลลิพัง
- เพื่อให้มี ยา เวชภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19)อย่างเพียงพอในการเฝ้าระวังป้องกันประชาชนในตำบลลิพังและประชาชนที่เข้ามาติดต่อราชการในสถานที่ราชการในตำบลลิพัง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มี ยา เวชภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันควบคุมโรคติดต่ออย่างเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
- มี ยา เวชภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออย่างเพียงพอในการเฝ้าระวังป้องกันประชาชนที่เข้ามาติดต่อราชการในสถานที่ราชการในตำบลลิพัง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้มี ยา เวชภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันควบคุมโรคติดต่ออย่างเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในสถานที่กักกันกลางของตำบลลิพัง ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้มี ยา เวชภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19)อย่างเพียงพอในการเฝ้าระวังป้องกันประชาชนในตำบลลิพังและประชาชนที่เข้ามาติดต่อราชการในสถานที่ราชการในตำบลลิพัง ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มี ยา เวชภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันควบคุมโรคติดต่ออย่างเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในสถานที่กักกันกลางของตำบลลิพัง (2) เพื่อให้มี ยา เวชภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19)อย่างเพียงพอในการเฝ้าระวังป้องกันประชาชนในตำบลลิพังและประชาชนที่เข้ามาติดต่อราชการในสถานที่ราชการในตำบลลิพัง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ และวัสดุที่ใช้ในการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1486-5-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอรอุมา ด้วงแก้ว นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......