โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางชูลี สุขะปุณพันธ์ ประธาน อสม.ชุมชนตีนเมรุ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7250-2-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7250-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,400.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ระบาดหนักในประเทศจีน และอีกหลายประเทศทั่วโลก มีผู้ติดเชื้อ 1,853,217 ราย เสียชีวิต 114,250 ราย รวมถึงประเทศไทยขณะนี้มีผู้ป่วยยืนยันสะสม 2,613 ราย ผู้ป่วยยืนยันรายใหม่ 34 ราย เสียชีวิต 41 ราย ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์เฝ้าระวังสะสม 34,848 ราย เฝ้าระวังรายใหม่ 62 ราย ข้อมูลเมื่อวันที่ 14 เมษายน 2563 (กรมควบคุมโรค,กระทรวงสาธารณสุข)
ในจังหวัดสงขลา ผู้ป่วยยีนยันสะสม 56 ราย ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์เฝ้าระวังสอบสวนโรค 594 ราย รักษาหายกลับบ้านแล้ว 26 ราย ยังรักษาตัวอยู่ใน รพ. 30 ราย ไม่พบผู้ป่วยเสียชีวิต และไม่พบผู้ป่วยรายใหม่ เป็นเวลา 9 วัน ตั้งแต่วันที่ 5-13 เม.ย.63 (สำนักงานสาธารณสุขสงขลา) อำเภอเมืองสงขลามีผู้ที่เข้าเกณฑ์เฝ้าระวังสอบสวนโรค 45 ราย ผู้ป่วยยืนยัน 1 ราย รักษาหายแล้ว มีผู้เดินทางเข้ามาในพื้นที่ อ.เมืองสงขลา 928 ราย ตำบลเขารูปช้างสูงสุด 248 ราย ตำบลบ่อยาง 224 ราย อยู่ระหว่างเฝ้าระวัง 53 ราย ครบระยะเฝ้าระยะ 14 วัน 171 ราย
สำหรับพื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา มีกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางจากต่างจังหวัดเข้ามาในพื้นที่ 20 ราย อยู่ระหว่างเฝ้าระวัง 1 ราย ครบระยะเฝ้าระวัง 19 ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 16 เม.ย.63) จากสถานการณ์โรคโควิด-19 โดยมีมาตรการดูแลกลุ่มเสี่ยงตามที่กรมควบคุมโรคติดต่อกำหนด ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตในปัจจุบันของประชาชนในพื้นที่ ทางเจ้าหน้าที่ ผู้นำชุมชน แกนนำอสม. จึงจัดทำโครงการควบคุมและเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลาขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ทันเวลา
- 2. เพื่อป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. พื้นที่ในเขตรับผิดชอบมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพและสามารถการป้องกันควบคุมโรคติดต่อได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๑. กิจกรรมประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ติดตาม แก้ไขปัญหา กับ จนท. อสม.แกนนำ ประธานชุมชน
จำนวน ๒๐ คน x ๒ ครั้ง (วันที่ ๒๒ พ.ค. ๒๕๖๓ และ วันที ๒๗ ส.ค. ๒๕๖๓)
๒. กิจกรรมจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์การปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคในชุมชน/โรงเรียน/วัด
จำนวน ๒๐ ชิ้น
๓.กิจกรรมการคัดกรองติดตามกลุ่มเสี่ยงที่บ้านครบ ๑๔ วัน
๔. จัดซื้ออุปกรณ์กิจกรรมการคัดกรองติดตามกลุ่มเสี่ยงที่บ้าน(ปรอทวัดไข้ ๓ ชิ้น,ถุงมือยาง ๒๐ กล่อง,
เสื้อกันฝน ๑๐๐ ตัว,Surgical mask ๑๐ กล่อง)
๕.จัดทำรูปเล่มสรุปโครงการ ๒ เล่ม
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ทันเวลา
ตัวชี้วัด : ๑. ไม่เกิดผู้ป่วยโควิด-19 รายใหม่ในพื้นที่
0.00
๑.ไม่เกิดผู้ป่วยโควิด-๑๙ รายใหม่ในพื้นที่
(ร้อยละ 0)
2
2. เพื่อป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
ตัวชี้วัด : 2. กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามครบ 14 วัน ร้อยละ 100
100.00
๒.กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามครบ๑๔วัน
ร้อยละ๑๐๐
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ทันเวลา (2) 2. เพื่อป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7250-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางชูลี สุขะปุณพันธ์ ประธาน อสม.ชุมชนตีนเมรุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางชูลี สุขะปุณพันธ์ ประธาน อสม.ชุมชนตีนเมรุ
กันยายน 2563
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7250-2-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7250-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,400.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ระบาดหนักในประเทศจีน และอีกหลายประเทศทั่วโลก มีผู้ติดเชื้อ 1,853,217 ราย เสียชีวิต 114,250 ราย รวมถึงประเทศไทยขณะนี้มีผู้ป่วยยืนยันสะสม 2,613 ราย ผู้ป่วยยืนยันรายใหม่ 34 ราย เสียชีวิต 41 ราย ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์เฝ้าระวังสะสม 34,848 ราย เฝ้าระวังรายใหม่ 62 ราย ข้อมูลเมื่อวันที่ 14 เมษายน 2563 (กรมควบคุมโรค,กระทรวงสาธารณสุข) ในจังหวัดสงขลา ผู้ป่วยยีนยันสะสม 56 ราย ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์เฝ้าระวังสอบสวนโรค 594 ราย รักษาหายกลับบ้านแล้ว 26 ราย ยังรักษาตัวอยู่ใน รพ. 30 ราย ไม่พบผู้ป่วยเสียชีวิต และไม่พบผู้ป่วยรายใหม่ เป็นเวลา 9 วัน ตั้งแต่วันที่ 5-13 เม.ย.63 (สำนักงานสาธารณสุขสงขลา) อำเภอเมืองสงขลามีผู้ที่เข้าเกณฑ์เฝ้าระวังสอบสวนโรค 45 ราย ผู้ป่วยยืนยัน 1 ราย รักษาหายแล้ว มีผู้เดินทางเข้ามาในพื้นที่ อ.เมืองสงขลา 928 ราย ตำบลเขารูปช้างสูงสุด 248 ราย ตำบลบ่อยาง 224 ราย อยู่ระหว่างเฝ้าระวัง 53 ราย ครบระยะเฝ้าระยะ 14 วัน 171 ราย สำหรับพื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา มีกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางจากต่างจังหวัดเข้ามาในพื้นที่ 20 ราย อยู่ระหว่างเฝ้าระวัง 1 ราย ครบระยะเฝ้าระวัง 19 ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 16 เม.ย.63) จากสถานการณ์โรคโควิด-19 โดยมีมาตรการดูแลกลุ่มเสี่ยงตามที่กรมควบคุมโรคติดต่อกำหนด ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตในปัจจุบันของประชาชนในพื้นที่ ทางเจ้าหน้าที่ ผู้นำชุมชน แกนนำอสม. จึงจัดทำโครงการควบคุมและเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลาขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ทันเวลา
- 2. เพื่อป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. พื้นที่ในเขตรับผิดชอบมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพและสามารถการป้องกันควบคุมโรคติดต่อได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๑. กิจกรรมประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ติดตาม แก้ไขปัญหา กับ จนท. อสม.แกนนำ ประธานชุมชน
จำนวน ๒๐ คน x ๒ ครั้ง (วันที่ ๒๒ พ.ค. ๒๕๖๓ และ วันที ๒๗ ส.ค. ๒๕๖๓)
๒. กิจกรรมจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์การปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคในชุมชน/โรงเรียน/วัด
จำนวน ๒๐ ชิ้น
๓.กิจกรรมการคัดกรองติดตามกลุ่มเสี่ยงที่บ้านครบ ๑๔ วัน
๔. จัดซื้ออุปกรณ์กิจกรรมการคัดกรองติดตามกลุ่มเสี่ยงที่บ้าน(ปรอทวัดไข้ ๓ ชิ้น,ถุงมือยาง ๒๐ กล่อง,
เสื้อกันฝน ๑๐๐ ตัว,Surgical mask ๑๐ กล่อง)
๕.จัดทำรูปเล่มสรุปโครงการ ๒ เล่ม
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ทันเวลา ตัวชี้วัด : ๑. ไม่เกิดผู้ป่วยโควิด-19 รายใหม่ในพื้นที่ |
0.00 | ๑.ไม่เกิดผู้ป่วยโควิด-๑๙ รายใหม่ในพื้นที่ (ร้อยละ 0) |
||
2 | 2. เพื่อป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ตัวชี้วัด : 2. กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามครบ 14 วัน ร้อยละ 100 |
100.00 | ๒.กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามครบ๑๔วัน ร้อยละ๑๐๐ |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ทันเวลา (2) 2. เพื่อป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7250-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางชูลี สุขะปุณพันธ์ ประธาน อสม.ชุมชนตีนเมรุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......