โครงการรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ2563
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ2563 ”
ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางอรอุมา ชับพล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ2563
ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ2563 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในปี 2561 (ข้อมูลจากระบบรายงายการเฝ้าระวังโรค 506 สำนักระบาดวิทยา ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2561) มีรายงานผู้ป่วยไข้เลิอดออก สะสมรวม 9jv12,764 รายเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ที่ผ่านมา 1,060 ราย อัตราการป่วย 19.39 ต่อประชากรแสนคน มีการรายงานจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกมากกว่าปี พ.ศ.2560 ร ช่วงเวลาเดียวกันร้อยละ 8.20 (1.08) เท่า ผู้เสียชีวิต 18 ราย ป่วยร้อยละ 0.14
การกระจายการเกิดโรคไข้เลือดออกตามกลุ่มอายุส่วนใหญ่ในกลุ่มอายุ 10-14 ปี มีอัตราป่วยสูงสุดคือ 60.56 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาได้แก่ อายุ 5-9 ปี (64.11) อายุ 15-24 ปี (19.76) ตามลำดับ สัดส่วนอาชีพที่พบผู้ป่วยสูงสุด คือ นักเรียน ร้อยละ 44.52 รองลงมาได้แก่ไม่ทราบอาชีพ (ร้อยละ 20.88) รับจ้างร้อยละ 19.55 ตามลำดับ ผู้ป่วยเพศชาย 6643 ราย ผู้ป่วยเพศหญิง 6121 ราย คิดเป็นอัตาส่วนชายต่อเพศหญิง เท่ากับ 0: 0.92 การกระจายการเกิดไข้เลือดออกรายภาค พบว่า ภาคใต้ มีเท่ากับ 32.27 ต่อประชากรแสนคน จำนวนผู้ป่วย 3006 ราย รองลงมาได้แก่ภาคกลาง อัตราป่วย 29.37 ต่อประชากรแสนคน จำนวนผู้ป่วย 6514 ราย ภาคเหนืออัตราป่วย 14.47 ต่อประชากรแสนคน จำนวนผู้ป่วย 1759 ราย และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อัตราป่วย 6.16 ต่อประชากรแสนคน จำนวนผู้ป่วย 1449 ราย ตามลำดับ
ในการนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ออก ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้ร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์ก่ารบริหารตำบลบ่อหิน จัดโครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้้เลือดออกขึ้น เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังควบคุมโรตไข้เลือดออก โดยยึดหลักมาตรการ 5 ป 1 ช โดยให้ประชาชนเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกระบาด ด้วยการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย เพื่อลดอัตราการป่วยการเสียชีวิตและการเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลบ่อหินต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ครัวเรือนและชุมชนดำเนินกิจกรรมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ดำเนินการรณรงค์สำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในแต่ละชุมชนและพ่นหมอกควันบ้านเรือนและศาสนสถาน ดำเนินกิจกรรมโรคงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล้ก โรงเรียนในเขตพื้นที่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
279
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ชุมชนมีความสามารถและศักยภาพในการดำเนินกิจกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้อย่างยั่งยืน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ดำเนินการรณรงค์สำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในแต่ละชุมชนและพ่นหมอกควันบ้านเรือนและศาสนสถาน ดำเนินกิจกรรมโรคงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล้ก โรงเรียนในเขตพื้นที่
วันที่ 14 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการรณรงค์สำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในแต่ละชุมชนและพ่นหมอกควันบ้านเรือนและศาสนสถาน ดำเนินกิจกรรมโรคงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล้ก โรงเรียนในเขตพื้นที่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ชุมชนมีความสามารถและศักยภาพในการดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้อย่างยั่งยืน
279
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ครัวเรือนและชุมชนดำเนินกิจกรรมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ทุกชุมชนมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI<10,CI =0
90.00
2
เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกืินร้อยละ 50 ต่อแสนประชากร
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
279
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
279
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ครัวเรือนและชุมชนดำเนินกิจกรรมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ดำเนินการรณรงค์สำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในแต่ละชุมชนและพ่นหมอกควันบ้านเรือนและศาสนสถาน ดำเนินกิจกรรมโรคงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล้ก โรงเรียนในเขตพื้นที่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ2563 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอรอุมา ชับพล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ2563 ”
ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางอรอุมา ชับพล
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ2563 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในปี 2561 (ข้อมูลจากระบบรายงายการเฝ้าระวังโรค 506 สำนักระบาดวิทยา ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2561) มีรายงานผู้ป่วยไข้เลิอดออก สะสมรวม 9jv12,764 รายเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ที่ผ่านมา 1,060 ราย อัตราการป่วย 19.39 ต่อประชากรแสนคน มีการรายงานจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกมากกว่าปี พ.ศ.2560 ร ช่วงเวลาเดียวกันร้อยละ 8.20 (1.08) เท่า ผู้เสียชีวิต 18 ราย ป่วยร้อยละ 0.14 การกระจายการเกิดโรคไข้เลือดออกตามกลุ่มอายุส่วนใหญ่ในกลุ่มอายุ 10-14 ปี มีอัตราป่วยสูงสุดคือ 60.56 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาได้แก่ อายุ 5-9 ปี (64.11) อายุ 15-24 ปี (19.76) ตามลำดับ สัดส่วนอาชีพที่พบผู้ป่วยสูงสุด คือ นักเรียน ร้อยละ 44.52 รองลงมาได้แก่ไม่ทราบอาชีพ (ร้อยละ 20.88) รับจ้างร้อยละ 19.55 ตามลำดับ ผู้ป่วยเพศชาย 6643 ราย ผู้ป่วยเพศหญิง 6121 ราย คิดเป็นอัตาส่วนชายต่อเพศหญิง เท่ากับ 0: 0.92 การกระจายการเกิดไข้เลือดออกรายภาค พบว่า ภาคใต้ มีเท่ากับ 32.27 ต่อประชากรแสนคน จำนวนผู้ป่วย 3006 ราย รองลงมาได้แก่ภาคกลาง อัตราป่วย 29.37 ต่อประชากรแสนคน จำนวนผู้ป่วย 6514 ราย ภาคเหนืออัตราป่วย 14.47 ต่อประชากรแสนคน จำนวนผู้ป่วย 1759 ราย และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อัตราป่วย 6.16 ต่อประชากรแสนคน จำนวนผู้ป่วย 1449 ราย ตามลำดับ ในการนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ออก ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้ร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์ก่ารบริหารตำบลบ่อหิน จัดโครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้้เลือดออกขึ้น เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังควบคุมโรตไข้เลือดออก โดยยึดหลักมาตรการ 5 ป 1 ช โดยให้ประชาชนเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกระบาด ด้วยการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย เพื่อลดอัตราการป่วยการเสียชีวิตและการเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลบ่อหินต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ครัวเรือนและชุมชนดำเนินกิจกรรมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ดำเนินการรณรงค์สำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในแต่ละชุมชนและพ่นหมอกควันบ้านเรือนและศาสนสถาน ดำเนินกิจกรรมโรคงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล้ก โรงเรียนในเขตพื้นที่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 279 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ชุมชนมีความสามารถและศักยภาพในการดำเนินกิจกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้อย่างยั่งยืน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ดำเนินการรณรงค์สำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในแต่ละชุมชนและพ่นหมอกควันบ้านเรือนและศาสนสถาน ดำเนินกิจกรรมโรคงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล้ก โรงเรียนในเขตพื้นที่ |
||
วันที่ 14 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำดำเนินการรณรงค์สำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในแต่ละชุมชนและพ่นหมอกควันบ้านเรือนและศาสนสถาน ดำเนินกิจกรรมโรคงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล้ก โรงเรียนในเขตพื้นที่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นชุมชนมีความสามารถและศักยภาพในการดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้อย่างยั่งยืน
|
279 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ครัวเรือนและชุมชนดำเนินกิจกรรมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : ทุกชุมชนมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI<10,CI =0 |
90.00 |
|
||
2 | เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกืินร้อยละ 50 ต่อแสนประชากร |
50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 279 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 279 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ครัวเรือนและชุมชนดำเนินกิจกรรมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ดำเนินการรณรงค์สำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในแต่ละชุมชนและพ่นหมอกควันบ้านเรือนและศาสนสถาน ดำเนินกิจกรรมโรคงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล้ก โรงเรียนในเขตพื้นที่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ2563 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอรอุมา ชับพล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......