กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มป่วย ”
ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางไซน๊ะหนิแว




ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มป่วย

ที่อยู่ ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 พฤษภาคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มป่วย จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแนะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มป่วย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มป่วย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 พฤษภาคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแนะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันทั่วโลกให้ความสำคัญกับการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากขึ้นเนื่องจากสภาวะความเป็นอยู่และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีจำนวนมากขึ้นโดยเฉพาะโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคมะเร็งและโรคทางเดินหายใจเรื้อรัง ซึ่งเป็นโรคไม่ติต่อเรื้อรังที่สำคัญที่เป็นภัยคร่าชีวิตประชากรทั่วโลกถึงร้อยละ ๘๕ ของการเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังทั้งหมด จากรายงานทั่วโลกพบว่ามีผู้ที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงมากถึงกว่า ๑,๐๐๐ล้านคน โดย ๒ ใน ๓เป็นประชากรในประเทศกำลังพัฒนาและคาดการณ์ว่าในปีพ.ศ. ๒๕๖๘ ประชากรวัยผู้ใหญ่ทั่วโลกจะเป็นโรคความดันโลหิตสูง ๑.๕๖ พันล้านคน และพบผู้ป่วยเบาหวานปี ๒๕๕๓ จำนวน ๓๖๖ ล้านคน หรือประมาณร้อยละ ๘.๓ ของประชากรวัยผู้ใหญ่ทั่วโลก มีผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวานถึง ๔.๖ ล้านคน และคาดว่าจะมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้น ๕๕๒ ล้านคนในปีพ.ศ.๒๕๗๓ สำหรับประเทศไทยพบว่า อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานได้เพิ่มข้นจาก ๒๗๗.๗ ต่อประชากรแสนคน ในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เป็น ๙๕๔.๒ต่อแสนประชากรในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ หรือเพิ่มขึ้น ประมาณ ๓.๔ เท่า จากข้อมูลสถิติในเขตอำเภอจะแนะ ปี ๒๕๕๙ พบว่ามีผู้ป่วยเบาหวานรายเก่าทั้งหมดจำนวน ๖๑๕ คน รายใหม่ ๔๘ คน และมีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายเก่าทั้งหมด ๒,๔๔๔ คน รายใหม่ ๑๙๑ คน พบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน ๘๐๖ คน กลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูง ๒,๙๗๒ คน และพบผู้ที่มีค่า BMI เกินมาตรฐาน ๗,๕๑๙ คน รอบเอวเกินมาตรฐาน ๑,๖๒๐ คนและสถิติในเขตตำบลจะแนะมีผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ๘๙๓ คน สามารถควบคุมได้ ๒๐ % และมีผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน ๒๒๑ คน ควบคุมโรคได้ ๒.๗ % จากข้อมูลหากประชาชนไม่มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้ดีขึ้นจะส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งเพิ่มค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลในอนาคตเพิ่มมากขึ้นการดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้ประชาชนมีสุขภาวะที่ดีตามบริบทสังคม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๓อ.๒ส. ได้ถูกต้อง
  3. ๓. เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถเป็นต้นแบบและแกนนำให้บุคคลอื่นได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 240
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชากรกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง ๒. ประชากรกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ๓. ประชากรกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง สามารถเป็นแกนนำให้กับบุคคลอื่นในชุมชนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 5 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 120 คนเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มีค่าน้ำหนัก รอบเอวเกินมาตรฐานในเขตตำบลจะแนะผลที่รับคือประชากรกลุ่มเสี่ยงมีกระแสการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สนใจในกิจกรรมที่ดำเนินการแลมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันโรคเรื้อรังในอนาคต

 

1,200 120

2. อบรมให้ความรู้

วันที่ 6 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม 120 คน เป็นผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมโรคไม่ได้และผู้ดูแลในเขตตำบลจะแนะ ผลที่ได้รับคือผู้ป่วยและญาติมีทักษะในการดูแลสุขภาพมากขึ้น ผู้ดูแลมีส่วนร่วมในการวางแผนและดูแลผู้ป่วยที่บ้านให้สามารถควบคุมโรคเพื่อลดภาวะแทกซ้อนที่จะตามมาในอนาคต

 

120 120

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๓อ.๒ส. ได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :

 

3 ๓. เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถเป็นต้นแบบและแกนนำให้บุคคลอื่นได้
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 240
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 240
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง (2) เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๓อ.๒ส. ได้ถูกต้อง (3) ๓. เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถเป็นต้นแบบและแกนนำให้บุคคลอื่นได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มป่วย จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางไซน๊ะหนิแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด