กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ


“ สร้างเสริมสุขภาวะโรงเรียน ชุมชน ลดขยะ ปลอดยาเสพติด (โรงเรียนบ้านเกาะนางคำเหนือ ปี 2563) ”

ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุกัญญา เพ็งทิพย์นาง

ชื่อโครงการ สร้างเสริมสุขภาวะโรงเรียน ชุมชน ลดขยะ ปลอดยาเสพติด (โรงเรียนบ้านเกาะนางคำเหนือ ปี 2563)

ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3333-02-26 เลขที่ข้อตกลง 20/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"สร้างเสริมสุขภาวะโรงเรียน ชุมชน ลดขยะ ปลอดยาเสพติด (โรงเรียนบ้านเกาะนางคำเหนือ ปี 2563) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สร้างเสริมสุขภาวะโรงเรียน ชุมชน ลดขยะ ปลอดยาเสพติด (โรงเรียนบ้านเกาะนางคำเหนือ ปี 2563)



บทคัดย่อ

โครงการ " สร้างเสริมสุขภาวะโรงเรียน ชุมชน ลดขยะ ปลอดยาเสพติด (โรงเรียนบ้านเกาะนางคำเหนือ ปี 2563) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3333-02-26 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเสริมสร้างสุขภาวะที่ดีเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งของเด็กเยาวชนและประชากรทุกเพศทุกวัย เพราะการมีสุขภาวะทางกายที่ดีย่อมนำมาซึ่งสุขภาพจิตที่ดี และยังส่งผลต่อสุขภาพชีวิตที่ดีตามมาด้วย จากการรับฟัง รับทราบ ศึกษาข้อมูล ข่าวสาร เรื่องของสุขภาพ จากหลายๆแหล่งข่าวด้วยกัน จะเห็นได้ว่าขณะนี้ปัญหาเรื่องของสุขภาพการเจ็บป่วยของเด็ก เยาวชน ประชากร มีเพิ่มจำนวนมากขึ้น อัตรากาเสียชีวิตก็เพิ่มมากขึ้นด้วย และปัจจัยที่ทำให้กิดการเจ็บป่วย การเสียชีวิตเพิ่มขึ้นนั้น ก็อาจจะมาจากหลายปัจจัยด้วยกัน ขยะและยาเสพติดก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อสุขภาพ ทำให้เจ็บป่วย เสียชีวิต
เพื่อเป็นการปลูกฝัง สร้างความตระหนัก ความรู้ความเข้าใจในเรื่องของขยะ และยาเสพติด ทางโรงเรียนบ้านเกาะนางคำเหนือจึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างสุขภาวะ โรงเรียน ชุมชน ลดขยะ ปลอดยาเสพติดขึ้น โดยในโครงการมี 2 กิจกรรม คือ กิจกรรมฏรงเรียนปลอดขยะ กิจกรรมโรงเรียนชุชน ปลอดยาเสพติด เพราะเป็นส่งใกล้ตัวของโรงเรียน เยาวชน ชุมชน ประกอบกับเป็นงานนโยบายของ สพฐ. และนโยบายของโรงเรียนที่ต้องการให้โรงเรียนเป็นโรงเรียนปลอดขยะและสถานศึกาปลอดยาเสพติด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียน/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนได้เข้าร่วมกิจกรรมของโครงการและทุกคนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาวะที่ดี
  2. เพื่อให้นักเรียน/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจตระหนักในเรื่องขยะ การลดขยะ สาเหตุของการเกิดขยะ วิธีการกำจักขยะ และรู้จัก คัด แยก แยะ
  3. เพื่อให้นักเรียน/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนรู้จักหลีกเลี่ยง ป้องกันตนเองไม่ให้ติดยาเสพติด
  4. เพื่อให้นักเรียน/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนสามารถนำขยะมารีไซเคิลและทำปุ๋ยชีวะภาพ
  5. เพื่อให้โรงเรียนกับชุมชนร่วมมือกันในการเฝ้าระวังและป้องกันมิให้สถานศึกษาและชุมชนเป็นแหล่งมั่วสุมของยาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การอบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ
  2. กิจกรรมคัดแยกขยะ
  3. กิจกรรมติดป้ายให้ความรู้เกี่ยวกับขยะและนาเสพติด ติดตามสถานที่ต่างๆ ในสถานศึกษา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 97
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ครู 13
ผู้ปกครองนักเรียน 41

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียน/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนได้เข้าร่วมกิจกรรมของโครงการและทุกคนมีความรู้ความเข้าใจและความตระหนักในเรื่องสุขภาวะที่ดี อันตรายจากขยะและห่างไกลจากยาเสพติด
  2. นักเรียน/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจสาเหตุการเกิดขยะ การลดขยะ โทษของขยะ การคัดแยกขยะ และวิธีการกำจัดขยะ
  3. นักเรียน/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนรู้จักหลีกเลี่ยง ป้องกันตนเองไม่ให้ติดยาเสพติด
  4. นักเรียน/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชน สามารถนำขยะมารีไซเคิลโดยการประดิษฐ์เป็นของตกแต่งได้
  5. นักเรียน/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนสามารถนำขยะมาทำเป็นปุ๋ยชีวภาพ
  6. เกิดความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับชุมชนในการเฝ้าระวังและการป้องกันปัญหาเกี่ยวกับขยะและยาเสพติด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.นักเรียน บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน ประชาชนในพื้นที่ทุกคนมีความรู้ความเข้าใจและความตระหนักในเรื่องของภัยจากขยะและอันตรายจากยาเสพติด รอยละ 100 2.นักเรียน บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน ประชาชนในพื้นที่ทุกคนมีความรู้ความเข้าใจและความตระหนักในเรื่องขยะ การลดขยะ สาเหตุของการเกิดขยะ วิธีการกำจัดขยะ และรู้จักวิธีการคัดแยกขยะ ร้อยละ 100

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียน/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนได้เข้าร่วมกิจกรรมของโครงการและทุกคนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาวะที่ดี
ตัวชี้วัด : นักเรียน/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียน/ประชาชนในพื้นที่ทุกคนมีความรู้ความเข้าใจและความตระหนักในเรื่องของภัยจากขยะและอันตรายจากยาเสพติดมากขึ้น ร้อยละ 100
0.00

 

2 เพื่อให้นักเรียน/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจตระหนักในเรื่องขยะ การลดขยะ สาเหตุของการเกิดขยะ วิธีการกำจักขยะ และรู้จัก คัด แยก แยะ
ตัวชี้วัด : นักเรียน/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในเรื่องขยะ การลดขยะ สาเหตุของการเกิดขยะ วิธีการกำจัดขยะ และรู้จัก คิด แยก แยะ ขยะ ร้อยละ 100
0.00

 

3 เพื่อให้นักเรียน/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนรู้จักหลีกเลี่ยง ป้องกันตนเองไม่ให้ติดยาเสพติด
ตัวชี้วัด : นักเรียน/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียนและประชาชนในพื้นที่ไม่เสพยาเสพติด ร้อยละ 100
0.00

 

4 เพื่อให้นักเรียน/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนสามารถนำขยะมารีไซเคิลและทำปุ๋ยชีวะภาพ
ตัวชี้วัด : นักเรียน/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชน สามารถนำขยะมารีไซเคิลและทำปุ๋ยชีวะภาพได้ ร้อยละ 100
0.00

 

5 เพื่อให้โรงเรียนกับชุมชนร่วมมือกันในการเฝ้าระวังและป้องกันมิให้สถานศึกษาและชุมชนเป็นแหล่งมั่วสุมของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : สถานศึกษาปลอดยาเสพติด นักเรียนกลุ่มเสี่ยงไม่มี ร้อยละ 100 ชุมชนผู้สเพลดลงกว่าเดิม (จากการสัมภาษณ์)ผู้นำท้องถิ่น)
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 151
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 97
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ครู 13
ผู้ปกครองนักเรียน 41

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนได้เข้าร่วมกิจกรรมของโครงการและทุกคนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาวะที่ดี (2) เพื่อให้นักเรียน/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจตระหนักในเรื่องขยะ การลดขยะ สาเหตุของการเกิดขยะ วิธีการกำจักขยะ และรู้จัก คัด แยก แยะ (3) เพื่อให้นักเรียน/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนรู้จักหลีกเลี่ยง ป้องกันตนเองไม่ให้ติดยาเสพติด (4) เพื่อให้นักเรียน/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนสามารถนำขยะมารีไซเคิลและทำปุ๋ยชีวะภาพ (5) เพื่อให้โรงเรียนกับชุมชนร่วมมือกันในการเฝ้าระวังและป้องกันมิให้สถานศึกษาและชุมชนเป็นแหล่งมั่วสุมของยาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การอบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ (2) กิจกรรมคัดแยกขยะ (3) กิจกรรมติดป้ายให้ความรู้เกี่ยวกับขยะและนาเสพติด ติดตามสถานที่ต่างๆ ในสถานศึกษา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


สร้างเสริมสุขภาวะโรงเรียน ชุมชน ลดขยะ ปลอดยาเสพติด (โรงเรียนบ้านเกาะนางคำเหนือ ปี 2563) จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3333-02-26

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุกัญญา เพ็งทิพย์นาง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด