กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านจัดการสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2560
รหัสโครงการ 012/60
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.ตำบลบ้านบางมะรวด
วันที่อนุมัติ 20 มีนาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 6 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวยามีหล๊ะ โตะเกะ
พี่เลี้ยงโครงการ คณะกรรมการ สปสช.
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.839,101.521place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ไม่มี
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาสุขภาพที่เป็นสาเหตุการตายอันดับแรกๆของประเทศไทยคือโรคมะเร็งโรคความดันโลหิตสูงโรคหัวใจและหลอดเลือดมีอัตราตาย ๘๕.๐๔ ,๓.๖๔ , ๕๕.๒๕ ต่อแสนประชากรตามลำดับ (ข้อมูลจากสำนักโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข)และต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงมากซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง คือขาดการออกกำลังกาย มีการรับประทานอาหารไม่เหมาะสมและไม่เพียงพอ แม้จะมีความรู้ แต่ยังไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง จากการสำรวจประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบหมู่1,8 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบางมะรวดพบว่าประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดัน เบาหวาน มีการรับประทานอาหาร หวาน มัน เค็ม เป็นส่วนมาก และมีการออกกำลังกายและการับประทานผักผลไม้เป็นส่วนน้อย ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบางมะรวดจึงจัดทำโครงการ หมู่บ้านจัดการสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยการปฏิบัติจริง 2 กระบวนการ ได้แก่ ๑. การออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย ๓-๕วันๆละอย่างน้อย๓๐นาที ๒. การรับประทานผักและผลไม้สด และลดการรับประทานอาหารไขมัน จะสามารถทำให้กลุ่มเสี่ยงลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานเช่นกันและทั้งการออกกำลังกายการปลูกพืชสมุนไพรร่วมกันยังเป็นกิจกรรมสร้างความอบอุ่นอีกด้วย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานมีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร, การออก กำลังกายและการจัดการความเครียดและบุหรี่ที่ถูกต้อง 2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิตสูงอยู่ในเกณฑ์ปกติ 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมสุขศึกษาในโครงการ

กลุ่มเสี่ยง  ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง  โรคเบาหวาน  มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม  และไม่เกิดโรคความดันโลหิตสูง  โรคเบาหวาน  และมีสุขภาพดี  อัตราการเกิดโรคเรื้อรังลดลง

1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 0.00 0 0.00
12 มี.ค. 61 1.ให้ความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง 2. ติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3.เยี่ยมชมสวนผักสมุนไพร 4. มอบของรางวัลกลุ่มเสี่ยงที่สามารถควบคุมความดัน เบาหวานได้ 0 0.00 -

. วิธีดำเนินการ 1. ประชาสัมพันธ์โครงการ 2.จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยง 3. จัดบอร์ดนิทรรศการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 4 .จัดตั้งศูนย์ส่งเสริมสุขภาพชุมชน โดยทำแปลงสาธิตปลูกพืชสมุนไพร ในการส่งเสริมสุขภาพ,ป้องกันโรค
ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน 5. ติดตามประเมินผลระดับความดันโลหิตสูงและน้ำตาลในเลือดหลังทำโครงการ 6. สรุปโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ กลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและไม่เกิดโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและมีสุขภาพดีอัตราการเกิดโรคเรื้อรังลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 พ.ค. 2560 09:38 น.