โครงการสร้างเสริมทันตกรรมสุขภาพในกลุ่มเด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี ปีงบประมาณ 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมทันตกรรมสุขภาพในกลุ่มเด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี ปีงบประมาณ 2560 ”
ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายชัยณรงค์มากเพ็ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมทันตกรรมสุขภาพในกลุ่มเด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี ปีงบประมาณ 2560
ที่อยู่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมทันตกรรมสุขภาพในกลุ่มเด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมทันตกรรมสุขภาพในกลุ่มเด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี ปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมทันตกรรมสุขภาพในกลุ่มเด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาสุขภาพช่องปากของประชากรเด็กไทยยังคงเป็นปัญหาสำคัญ โดยเฉพาะโรคฟันผุเป็นปัญหาที่เด่นชัด และเป็นสาเหตุของการสูญเสียฟันของเด็กมากที่สุด ซึ่งส่งผลต่อพัฒนาการ สุขภาพ การสบฟันตลอดจนการใช้ชีวิตประจำวันข้อมูลจากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศครั้งที่ ๗ ปี ๒๕๕๕พบว่ากลุ่มเด็กอายุ ๓ ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ ๕๑.๗ ในขณะที่ภาคใต้ พบว่าเด็ก ๓ ปีมีอัตราการเกิดสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับภาคอื่นๆ เป็นร้อยละ ๖๑ จากข้อมูลการสำรวจสภาวะช่องปากของจังหวัดตรังในปี ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ และ ๒๕๕๙ พบว่าเด็กอายุ ๓ ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 53.7,48.8และ 47.74 ตามลำดับ สำหรับอำเภอรัษฏาพบว่าเด็กอายุ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 49.83 ,47.5 และ 46.11ตามลำดับในขณะที่ตำบลเขาไพร พบเด็กอายุ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 77.14,47.83 และ 46.88 ตามลำดับ
จากกล่าวมาข้างต้น แสดงให้เห็นว่า ปัญหาโรคฟันผุในกลุ่มเด็กแรกเกิดจนถึง 3 ปี ในอำเภอรัษฏา ยังคงเป็นปัญหาที่ควรได้รับการส่งเสริมและป้องกันอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นดังนั้น กลุ่มงานทันตกรรมโรงพยาบาลรัษฎาอำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จึงได้ขอจัดทำโครงการสร้างเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มเด็กแรกเกิดถึง 3 ปี โดยของบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเขาไพรมุ่งเน้นกิจกรรมการให้ทันตสุขศึกษาผ่านการปฏิบัติจริง รวมถึงมีการสำรวจและเฝ้าระวังถึงปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเกิดโรคฟันผุโดยจัดทำในรพ.สต.เขาไพร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี มีสุขภาพช่องปากที่ดี
- 2. เพื่อให้เด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและสนับสนุนให้เกิดสภาวะช่องปากที่ดี
- 3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด 0-3 ปี ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฝึกทักษะการแปรงฟันแก่เด็กอย่างน้อย 1 ครั้ง
- 4. เพื่อให้เด็กอายุ 1-3 ปี ได้รับการแปรงฟันก่อนนอนโดยผู้ปกครอง
- 5. เพื่อให้เด็กอายุ 9 เดือน – 3 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช
- 6.เพื่อให้เด็กอายุ 18 – 36 เดือน ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยนสค./อสม.
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพช่องปากที่ดี ไม่พบรอยโรคฟันผุเพิ่มเติม
- ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และเด็กปฐมวัย ได้เห็นถึงความสำคัญของการมีสุขภาพช่องปากที่ดี มีสุขภาพที่ดี มีความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
- ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ไปใช้ในการดูแลเด็กต่อเนื่องได้ในช่วงอายุถัดไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ผลการดำเนินงาน
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละ 100 ของเด็กแรกเกิด 0-3 ปี ที่มารับวัคซีนในคลินิก WBC ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ความสะอาด และประเมินความเสี่ยงต่อโรคฟันผุและบันทึกสภาวะช่องปาก สถานบริการ รพ.สต.เขาไพร จำนวนทั้งหมด 200 ราย ผลการดำเนินงาน 108 ราย ร้อยละ 54
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของผู้ปกครองเด็กแรกเกิด 0-3 ปี ที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากได้รับทันตสุขศึกษา ฝึกทักษะเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและฝึกแปรงฟันเด็กเล็กผู้ปกครองแบบลงมือปฏิบุติอย่างน้อย 1 ครัั้ง สถานบริการ รพ.สต.เขาไพร จำนวนทั้งหมด 108 ราย ผลการดำเนินงาน 108 ราย ร้อยละ 100
ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละ ของเด็กอายุ 1-3 ปี ได้รับการแปรงฟันก่อนนอนโดยผู้ปกครอง สถานบริการ รพ.สต.เขาไพรจำนวนทั้งหมด 48 ราย ผลการำเนินงาน 48 ราย ร้อยละ 100
ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละ 100 ของเด็กอายุ 9 เดือน - 2.6 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช สถานบริการ รพ.สต.เขาไพร จำนวนทั้งหมด 55 ราย ผลการดำเนินงาน 55 ราย ร้อยละ
100
ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละ 50 ของเด็กอายุ 18-36 เดือน ได้รับการเยี่ยมบ้านโดย อสม/นสค.สถานบริการ รพ.สต.เขาไพรจำนวนทั้งหมด 86 ราย ผลการำเนินงาน 81 ราย ร้อยละ 94.19
2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 4,300 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง 4,300 บาท
คิดเป็นร้อยละ 100
4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
มี
คือ
- เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่ทำในเด็กเล็ก ทำให้เด็กบางคนมีความกลัว หวาดระแวง จึงทำให้เด็กร้องไห้ ดิ้น ไม่ยอมอ้าปากให้ทำ
- ผู้ปกครองจะให้ความสนใจกับลูกมากกว่าการฟันที่เราสอน
แนวทางการแก้ไข
- พูดคุยกับเด็ก อธิบายว่าเราทำอะไร ให้เด็กได้ลองทำก่อนว่าไม่ได้เจ็บอย่างที่คิดไว้
- ให้ผู้ปกครองพาผู้ดูแลเด็กมาอีกคน เพื่อให้ผู้ปกครองไม่ต้องกังวลกับลูก และได้สนใจกับการสอนการแปรงฟัน การดูแลสุขภาพช่องปาก
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้เด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี มีสุขภาพช่องปากที่ดี
ตัวชี้วัด :
2
2. เพื่อให้เด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและสนับสนุนให้เกิดสภาวะช่องปากที่ดี
ตัวชี้วัด :
3
3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด 0-3 ปี ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฝึกทักษะการแปรงฟันแก่เด็กอย่างน้อย 1 ครั้ง
ตัวชี้วัด :
4
4. เพื่อให้เด็กอายุ 1-3 ปี ได้รับการแปรงฟันก่อนนอนโดยผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด :
5
5. เพื่อให้เด็กอายุ 9 เดือน – 3 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช
ตัวชี้วัด :
6
6.เพื่อให้เด็กอายุ 18 – 36 เดือน ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยนสค./อสม.
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี มีสุขภาพช่องปากที่ดี (2) 2. เพื่อให้เด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและสนับสนุนให้เกิดสภาวะช่องปากที่ดี (3) 3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด 0-3 ปี ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฝึกทักษะการแปรงฟันแก่เด็กอย่างน้อย 1 ครั้ง (4) 4. เพื่อให้เด็กอายุ 1-3 ปี ได้รับการแปรงฟันก่อนนอนโดยผู้ปกครอง (5) 5. เพื่อให้เด็กอายุ 9 เดือน – 3 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช (6) 6.เพื่อให้เด็กอายุ 18 – 36 เดือน ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยนสค./อสม.
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสร้างเสริมทันตกรรมสุขภาพในกลุ่มเด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายชัยณรงค์มากเพ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมทันตกรรมสุขภาพในกลุ่มเด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี ปีงบประมาณ 2560 ”
ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายชัยณรงค์มากเพ็ง
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมทันตกรรมสุขภาพในกลุ่มเด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมทันตกรรมสุขภาพในกลุ่มเด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี ปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมทันตกรรมสุขภาพในกลุ่มเด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาสุขภาพช่องปากของประชากรเด็กไทยยังคงเป็นปัญหาสำคัญ โดยเฉพาะโรคฟันผุเป็นปัญหาที่เด่นชัด และเป็นสาเหตุของการสูญเสียฟันของเด็กมากที่สุด ซึ่งส่งผลต่อพัฒนาการ สุขภาพ การสบฟันตลอดจนการใช้ชีวิตประจำวันข้อมูลจากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศครั้งที่ ๗ ปี ๒๕๕๕พบว่ากลุ่มเด็กอายุ ๓ ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ ๕๑.๗ ในขณะที่ภาคใต้ พบว่าเด็ก ๓ ปีมีอัตราการเกิดสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับภาคอื่นๆ เป็นร้อยละ ๖๑ จากข้อมูลการสำรวจสภาวะช่องปากของจังหวัดตรังในปี ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ และ ๒๕๕๙ พบว่าเด็กอายุ ๓ ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 53.7,48.8และ 47.74 ตามลำดับ สำหรับอำเภอรัษฏาพบว่าเด็กอายุ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 49.83 ,47.5 และ 46.11ตามลำดับในขณะที่ตำบลเขาไพร พบเด็กอายุ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 77.14,47.83 และ 46.88 ตามลำดับ จากกล่าวมาข้างต้น แสดงให้เห็นว่า ปัญหาโรคฟันผุในกลุ่มเด็กแรกเกิดจนถึง 3 ปี ในอำเภอรัษฏา ยังคงเป็นปัญหาที่ควรได้รับการส่งเสริมและป้องกันอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นดังนั้น กลุ่มงานทันตกรรมโรงพยาบาลรัษฎาอำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จึงได้ขอจัดทำโครงการสร้างเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มเด็กแรกเกิดถึง 3 ปี โดยของบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเขาไพรมุ่งเน้นกิจกรรมการให้ทันตสุขศึกษาผ่านการปฏิบัติจริง รวมถึงมีการสำรวจและเฝ้าระวังถึงปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเกิดโรคฟันผุโดยจัดทำในรพ.สต.เขาไพร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี มีสุขภาพช่องปากที่ดี
- 2. เพื่อให้เด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและสนับสนุนให้เกิดสภาวะช่องปากที่ดี
- 3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด 0-3 ปี ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฝึกทักษะการแปรงฟันแก่เด็กอย่างน้อย 1 ครั้ง
- 4. เพื่อให้เด็กอายุ 1-3 ปี ได้รับการแปรงฟันก่อนนอนโดยผู้ปกครอง
- 5. เพื่อให้เด็กอายุ 9 เดือน – 3 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช
- 6.เพื่อให้เด็กอายุ 18 – 36 เดือน ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยนสค./อสม.
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 200 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพช่องปากที่ดี ไม่พบรอยโรคฟันผุเพิ่มเติม
- ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และเด็กปฐมวัย ได้เห็นถึงความสำคัญของการมีสุขภาพช่องปากที่ดี มีสุขภาพที่ดี มีความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
- ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ไปใช้ในการดูแลเด็กต่อเนื่องได้ในช่วงอายุถัดไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ผลการดำเนินงาน
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละ 100 ของเด็กแรกเกิด 0-3 ปี ที่มารับวัคซีนในคลินิก WBC ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ความสะอาด และประเมินความเสี่ยงต่อโรคฟันผุและบันทึกสภาวะช่องปาก สถานบริการ รพ.สต.เขาไพร จำนวนทั้งหมด 200 ราย ผลการดำเนินงาน 108 ราย ร้อยละ 54
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของผู้ปกครองเด็กแรกเกิด 0-3 ปี ที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากได้รับทันตสุขศึกษา ฝึกทักษะเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและฝึกแปรงฟันเด็กเล็กผู้ปกครองแบบลงมือปฏิบุติอย่างน้อย 1 ครัั้ง สถานบริการ รพ.สต.เขาไพร จำนวนทั้งหมด 108 ราย ผลการดำเนินงาน 108 ราย ร้อยละ 100
ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละ ของเด็กอายุ 1-3 ปี ได้รับการแปรงฟันก่อนนอนโดยผู้ปกครอง สถานบริการ รพ.สต.เขาไพรจำนวนทั้งหมด 48 ราย ผลการำเนินงาน 48 ราย ร้อยละ 100
ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละ 100 ของเด็กอายุ 9 เดือน - 2.6 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช สถานบริการ รพ.สต.เขาไพร จำนวนทั้งหมด 55 ราย ผลการดำเนินงาน 55 ราย ร้อยละ
100
ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละ 50 ของเด็กอายุ 18-36 เดือน ได้รับการเยี่ยมบ้านโดย อสม/นสค.สถานบริการ รพ.สต.เขาไพรจำนวนทั้งหมด 86 ราย ผลการำเนินงาน 81 ราย ร้อยละ 94.19
2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 4,300 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง 4,300 บาท
คิดเป็นร้อยละ 100
4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
มี
คือ
- เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่ทำในเด็กเล็ก ทำให้เด็กบางคนมีความกลัว หวาดระแวง จึงทำให้เด็กร้องไห้ ดิ้น ไม่ยอมอ้าปากให้ทำ
- ผู้ปกครองจะให้ความสนใจกับลูกมากกว่าการฟันที่เราสอน
แนวทางการแก้ไข
- พูดคุยกับเด็ก อธิบายว่าเราทำอะไร ให้เด็กได้ลองทำก่อนว่าไม่ได้เจ็บอย่างที่คิดไว้
- ให้ผู้ปกครองพาผู้ดูแลเด็กมาอีกคน เพื่อให้ผู้ปกครองไม่ต้องกังวลกับลูก และได้สนใจกับการสอนการแปรงฟัน การดูแลสุขภาพช่องปาก
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้เด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี มีสุขภาพช่องปากที่ดี ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2. เพื่อให้เด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและสนับสนุนให้เกิดสภาวะช่องปากที่ดี ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด 0-3 ปี ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฝึกทักษะการแปรงฟันแก่เด็กอย่างน้อย 1 ครั้ง ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | 4. เพื่อให้เด็กอายุ 1-3 ปี ได้รับการแปรงฟันก่อนนอนโดยผู้ปกครอง ตัวชี้วัด : |
|
|||
5 | 5. เพื่อให้เด็กอายุ 9 เดือน – 3 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช ตัวชี้วัด : |
|
|||
6 | 6.เพื่อให้เด็กอายุ 18 – 36 เดือน ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยนสค./อสม. ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 200 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี มีสุขภาพช่องปากที่ดี (2) 2. เพื่อให้เด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและสนับสนุนให้เกิดสภาวะช่องปากที่ดี (3) 3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด 0-3 ปี ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฝึกทักษะการแปรงฟันแก่เด็กอย่างน้อย 1 ครั้ง (4) 4. เพื่อให้เด็กอายุ 1-3 ปี ได้รับการแปรงฟันก่อนนอนโดยผู้ปกครอง (5) 5. เพื่อให้เด็กอายุ 9 เดือน – 3 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช (6) 6.เพื่อให้เด็กอายุ 18 – 36 เดือน ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยนสค./อสม.
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสร้างเสริมทันตกรรมสุขภาพในกลุ่มเด็กแรกเกิด 0 - 3 ปี ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายชัยณรงค์มากเพ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......