กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขื่อนบางลาง


“ โครงการเฝ้าระวัง คัดกรอง กลุ่มเสี่ยงโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 COVID – 19 ”

ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลเขื่อนบางลาง

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง คัดกรอง กลุ่มเสี่ยงโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 COVID – 19

ที่อยู่ ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L4122-05-04 เลขที่ข้อตกลง 05/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 31 พฤษภาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง คัดกรอง กลุ่มเสี่ยงโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 COVID – 19 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขื่อนบางลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง คัดกรอง กลุ่มเสี่ยงโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 COVID – 19



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อโคโรนา (COVID 19) ของผู้ใช้เส้นทางสัญจรไป มา ระหว่างจังหวัด (2) เพื่อเป็นการคัดกรอง เฝ้าติดตามอาการกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางกลับมาจากกรุงเทพมหานคร จากปริมณฑล จังหวัดภูเก็ต และประเทศเพื่อนบ้าน (3) เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ คำแนะนำการดูแลป้องกันการปฏิบัติตัวของประชาชนเกี่ยวกับโรคติดเชื้อโคโรนา (COVID 19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่ได้เกิดการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) และกระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศให้เป็นโรคติดต่ออันตราย รวมถึงกระทรวงมหาดไทยแจ้งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการควบคุมโรคในทุกพื้นที่ และด้วยสถานการณ์แพร่ระบาดของโคโรนาไวรัส หรือ โควิด-19 ในประเทศไทย ส่งผลให้มีประชาชนเสี่ยงที่จะติดเชื้อเนื่องจากปัจจัยประชาชนเดินทางกลับมาจากประเทศเพื่อนบ้าน หรือเดินทางกลับจากกรุงเทพมหานคร สร้างความกังวลให้กับบุคคลในชุมชนต่อการแพร่กระจายของเชื้อโรคในวงกว้างมากขึ้น
สืบเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งเป็นโรคติดต่อร้ายแรงตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข ในพื้นที่จังหวัดยะลา โดยเฉพาะอำเภอบันนังสตายังคงมีแนวโน้มการติดเชื้อและการแพร่ระบาดเป็นวงกว้างและมีอัตราการเพิ่มผู้ติดเชื้ออย่างต่อเนื่องประกอบกับตำบลเขื่อนบางลาง ได้มีคำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด – 19 จังหวัดยะลา ที่ 18 / 2563 เรื่อง การกำหนดพื้นที่เสี่ยงเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดยะลา (ฉบับที่ 4) ผนวก ก เพื่อเป็นการป้องกันและยับยั่งการแพร่ระบาดของโรคโรคติดต่อเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลาโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดยะลา จึงได้กำหนดให้พื้นที่เสี่ยงเฝ้าระวัง เพื่อควบคุมยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคโรคติดต่อเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และสถานการณ์ในพื้นที่ยังคงไม่ดีขึ้น พื้นที่ใกล้เคียงยังมีการระบาดอย่างต่อเนื่อง จึงได้มีการกำหนดปิดพื้นที่ตำบลต่อไปเพื่อเป็นการป้องกันควบคุม และลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรคเข้าสู่หมู่บ้าน
สืบเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งเป็นโรคติดต่อร้ายแรงตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข ในพื้นที่จังหวัดยะลา โดยเฉพาะอำเภอบันนังสตายังคงมีแนวโน้มการติดเชื้อและการแพร่ระบาดเป็นวงกว้างและมีอัตราการเพิ่มผู้ติดเชื้ออย่างต่อเนื่องประกอบกับตำบลเขื่อนบางลาง ได้มีคำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด – 19 จังหวัดยะลา ที่ 18 / 2563 เรื่อง การกำหนดพื้นที่เสี่ยงเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดยะลา (ฉบับที่ 4) ผนวก ก เพื่อเป็นการป้องกันและยับยั่งการแพร่ระบาดของโรคโรคติดต่อเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลาโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดยะลา จึงได้กำหนดให้พื้นที่เสี่ยงเฝ้าระวัง เพื่อควบคุมยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคโรคติดต่อเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และสถานการณ์ในพื้นที่ยังคงไม่ดีขึ้น พื้นที่ใกล้เคียงยังมีการระบาดอย่างต่อเนื่อง จึงได้มีการกำหนดปิดพื้นที่ตำบลต่อไปเพื่อเป็นการป้องกันควบคุม และลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรคเข้าสู่หมู่บ้าน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อโคโรนา (COVID 19) ของผู้ใช้เส้นทางสัญจรไป มา ระหว่างจังหวัด
  2. เพื่อเป็นการคัดกรอง เฝ้าติดตามอาการกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางกลับมาจากกรุงเทพมหานคร จากปริมณฑล จังหวัดภูเก็ต และประเทศเพื่อนบ้าน
  3. เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ คำแนะนำการดูแลป้องกันการปฏิบัติตัวของประชาชนเกี่ยวกับโรคติดเชื้อโคโรนา (COVID 19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,452
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. สามารถเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อโคโรนา (COVID 19) ของผู้ใช้เส้นทาง สัญจรไป มา ระหว่างจังหวัด อำเภอ และตำบล
    2. สามารถคัดกรอง เฝ้าติดตามอาการกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางกลับมาจากกรุงเทพมหานคร จาก ปริมณฑล จังหวัดภูเก็ต และประเทศเพื่อนบ้าน
    3. ประชาชนได้รับความรู้ เกิดความเข้าใจ ในการดูแลป้องกันการปฏิบัติตัวของประชาชน เกี่ยวกับโรคติดเชื้อโคโรนา (COVID 19)

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อโคโรนา (COVID 19) ของผู้ใช้เส้นทางสัญจรไป มา ระหว่างจังหวัด
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อเป็นการคัดกรอง เฝ้าติดตามอาการกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางกลับมาจากกรุงเทพมหานคร จากปริมณฑล จังหวัดภูเก็ต และประเทศเพื่อนบ้าน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ คำแนะนำการดูแลป้องกันการปฏิบัติตัวของประชาชนเกี่ยวกับโรคติดเชื้อโคโรนา (COVID 19)
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 4452 4452
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,452 4,452
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อโคโรนา (COVID 19) ของผู้ใช้เส้นทางสัญจรไป มา ระหว่างจังหวัด (2) เพื่อเป็นการคัดกรอง เฝ้าติดตามอาการกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางกลับมาจากกรุงเทพมหานคร จากปริมณฑล จังหวัดภูเก็ต และประเทศเพื่อนบ้าน (3) เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ คำแนะนำการดูแลป้องกันการปฏิบัติตัวของประชาชนเกี่ยวกับโรคติดเชื้อโคโรนา (COVID 19)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวัง คัดกรอง กลุ่มเสี่ยงโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 COVID – 19 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 63-L4122-05-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลเขื่อนบางลาง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด