กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระเสาะ


“ โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชน โดยหมอประจำครอบครัว ในกลุ่มเป้าหมาย WE CAN DO โดยนักสุขภาพครอบครัว (นสค.)ตำบลกระเสาะ ”

ตำบลกระเสาะ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟาตีเมาะ ลาเตะ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชน โดยหมอประจำครอบครัว ในกลุ่มเป้าหมาย WE CAN DO โดยนักสุขภาพครอบครัว (นสค.)ตำบลกระเสาะ

ที่อยู่ ตำบลกระเสาะ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L2999-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 พฤษภาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชน โดยหมอประจำครอบครัว ในกลุ่มเป้าหมาย WE CAN DO โดยนักสุขภาพครอบครัว (นสค.)ตำบลกระเสาะ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกระเสาะ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระเสาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชน โดยหมอประจำครอบครัว ในกลุ่มเป้าหมาย WE CAN DO โดยนักสุขภาพครอบครัว (นสค.)ตำบลกระเสาะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชน โดยหมอประจำครอบครัว ในกลุ่มเป้าหมาย WE CAN DO โดยนักสุขภาพครอบครัว (นสค.)ตำบลกระเสาะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกระเสาะ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L2999-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 พฤษภาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระเสาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เป้าหมายหลักหรือผลผลผลิตของบริการปฐมภูมิที่สำคัญมี 2 ประการ คือ 1. การส่งเสริมให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเอง ได้ด้วยการลดพฤติกรรมเสสี่ยงต่อการเกิดโรค 2.การส่งเสริมให้ประชนได้รับการบริหารประชาชนอย่างเสมอภาคเป็นธรรมนั้น ดังนั้นจึงได้พัฒนานักสุขภาพคร่อบครัวเป็นหมอประจำครอบครัวเพื่อเข้าไปดูแลและจัดการให้บริการสุขภาพเชิงรุกในชุมชน (นสค.) และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เพื่อเป็น หมอประจำครอบครัว ที่จะร่วมกันพัฒนาระบบการออกเยี่ยมบ้านทุกครัวเรือน ประชาสัมพันธ์พร้อมทั้งสร้างระบบฐานข้อมูล รายครัวเรือน ร่วมสรุป วิเคราะห์ปัญหาและจัดทำแผนแก้ไขปัญหา โดยสร้างให้เกิดความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทุกกลุ่มองค์กร ที่มีในหมู่บ้านชุมชน โดยคาดหวังว่าระบบสุขภาพชุมชนจะมีประสิทธิภาพ สามารถดูแลประชาชนให้บรรลุเป้าหมายที่คาดหวัง 2 ประการ ดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ทุกครัวเรือน มี หมอประจำครอบครัว 2. เพื่อพัฒนา นสค.และ อสม. ปฏิบัติงานร่วมกัน เป็น หมอประจำครอบครัว อย่างมีคุณภาพ 3. เพื่อให้ทุกกลุ่มเป้าหมาย WECANDO เข้าถึงบริการสุขภาพและพึงตนเองด้านสุขภาพได้ 4. เพื่อพัฒนา Community Folder และฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ทุกครัวเรือน มี หมอประจำครอบครัว 2.  นสค.และ อสม. ปฏิบัติงานร่วมกัน เป็น หมอประจำครอบครัว อย่างมีคุณภาพ 3. กลุ่มเป้าหมาย WECANDO เข้าถึงบริการสุขภาพและพึงตนเองด้านสุขภาพได้ 4. ได้พัฒนา Community Folder และฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงรายละเอียดแก่ อสม. และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทำแผนการดำเนินงาน ซึ่่งจัดกิจกรรมในวันที่ 23 กค. 2563 เวลา 08.30-16.30 น. โดยมี อสม. และเจ้าหน้าที่รพ.สต.เข้าร่วมจำนวน 50 คน
    กิจกรรมที่ 2 อบรม อสม. เชี่ยวชาญการเยี่ยมบ้านและจัดการสุขภาพ แก่ อสม. โดยจัดในวันที่ 29-31 กค. 2563 ตั้งแต่เวลา 08.30-16.30 น. รวม3 วัน โดยมีวัตถุประสงค์ให้ อสม. ตำบลกระเสาะ รู้ถึงบทบาท การเป็นอสม. นักจัดการสุขภาพ โดยมีกิจกรรม ดังนี้ คือ. 1. ฝึกสำรวจการเก็บข้อมูล กลุ่มเป้าหมาย WE CAN DO ในพื้นที่รับผิดชอบดังนี้ W (WOman) หมายถึง กลุ่มหญิงวัยเจริญพันธ์ อายุ 15-44 ปี E (Education) หมายถึง กลุ่มวัยเรียนอายุ 15-15 ปี C (Children) หมายถึง กลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี A (ANC) หมายถึง กลุ่มหญิงฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ N (์NCD) หมายถึง กลุ่มวัยทำงาน อายุ 35 ปีขึ้นไปที่ต้องเฝ้าระวังในเรื่องโรคไม่ติดต่อ D (Disability) หมายถึง กลุ่มผู้พิการที่ต้องดูแลเรื่องภาวะสุขภาพ
    O (Older) หมายถึง กลุ่มผู้สูงอายุ ที่ต้องดูแลในเรื่องโรคเรื้อรัง และการแยกกลุ่ม
    2. ฝึกทักษะการฟัง การเขียน การพูดการประเมินการเจ็บป่วยเบื้องต้น และการเยี่ยมบ้าน โดยอสม. จะต้องฝึกพูดการฟัง และการเขียน
    3. อสม.ฝึกเยี่ยมบ้านร่วมกับเจ้าหน้าที่
    กิจกรรมที่ 3 สำรวจข้อมูลดดย อสม. และเจ้าหน้าที่เพื่อจัดทำฐานข้อมูล Community Folder ทุกหลังคาเรือน
    กิจกรรมที่ 4 จัดเวทีสรุปและคืนข้อมูลชุมชน เพื่อจัดทำแผนแก้ไขปัญหา ในกลุ่ม Wecando โดยมีผู้เข้าร่วมจำนวน 60 คน กิจกรรมที่ 5 จัดเวทีถอดบทเรียนการทำงานและผลการดำเนินงานร่วมกัน ระหว่างตัวแทน อสม. และเจ้าหน้าที่ อสม. ผู้นำชุมชน และตัวแทนครอบครัว ในวันที่ 24 สิงหาคม 2563 สิ่งที่ได้จากโครงการ 1. ฝึกการทำงานร่วมกัน 2.อสม.มีเป้าหมายในการดูแลที่ชัดเจน พร้อมการวางแผนการเยี่ยมบ้านตามสภาพปัญหา ของกลุ่มเป้าหมาย 3.พัฒนาศักยภาพอสม.ด้านการประเมินสภาพผู้ป่วย 4.ฟื้นฟูการดูแลสุขภาพของประชาชน เช่น เรื่องการวัดความดันโลหิต การฝึการเยี่ยมบ้าน การเข้าหากลุ่มเป้าหมาย การแนะนำการดูแลสุขภาพ 6.การฝึกทักษะ การพูด การฟัง การเขียน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ทุกครัวเรือน มี หมอประจำครอบครัว 2. เพื่อพัฒนา นสค.และ อสม. ปฏิบัติงานร่วมกัน เป็น หมอประจำครอบครัว อย่างมีคุณภาพ 3. เพื่อให้ทุกกลุ่มเป้าหมาย WECANDO เข้าถึงบริการสุขภาพและพึงตนเองด้านสุขภาพได้ 4. เพื่อพัฒนา Community Folder และฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ทุกครัวเรือน มี หมอประจำครอบครัว 2. เพื่อพัฒนา นสค.และ อสม. ปฏิบัติงานร่วมกัน เป็น หมอประจำครอบครัว อย่างมีคุณภาพ 3. เพื่อให้ทุกกลุ่มเป้าหมาย WECANDO เข้าถึงบริการสุขภาพและพึงตนเองด้านสุขภาพได้ 4. เพื่อพัฒนา Community Folder และฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชน โดยหมอประจำครอบครัว ในกลุ่มเป้าหมาย WE CAN DO โดยนักสุขภาพครอบครัว (นสค.)ตำบลกระเสาะ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 63-L2999-2-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวฟาตีเมาะ ลาเตะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด