กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ


“ ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (Physical activity) ”

ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายศิริ วุ่นชูแก้ว

ชื่อโครงการ ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (Physical activity)

ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3333-02-27 เลขที่ข้อตกลง 23/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (Physical activity) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (Physical activity)



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (Physical activity) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3333-02-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันวิถีการดำเนินชีวิตของเด็ก เยาวชนและประชาชนได้เปลี่ยนแปลงอย่างมาก มีสิ่งอำนวยความสะดวกมากขึ้น มีปัจจัยหลายอย่างที่ส่งผลให้เกิดพฤติกรรม "เนือยนิ่ง" หรือพฤติกรรมสโลว์ ซึ่งทั้งหมดส่งผลทำให้เด็ก เยาวชน และประชาชนขาดการเคลื่อนไหวออกแรงในชีวิตประจำวันและขาดการออกกำลังกาย ซึ่งก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดหัวใจ การป้องกันที่ดีอีกทางเลือกหนึ่งคือการสร้างสุขภาพดีด้วยการออกกำลังกายหรือการทำกิจกรรมทางกายหรือการเคลื่อนไหวร่างกายเป็นประจำซึ่งต้องเลือกปฏิบัติให้สมวัยด้วย การทำกิจกรรมทางกายหรือกาเคลื่อนไหวร่างกายเป็นประจำส่งผลต่อการมีสุขภาพดังนี้ ควบคุมน้ำหนักหรือเป็นโรคอ้วน ลดความเสี่ยงของการเป็นโรคหัวใจและโรคหลอดเลือด โรคเบาหวาน และโรคมะเร็ง สร้างความแข็งแรงของกระดูกและกล้าวมเนื้อ ช่วยให้มีสุขภาพดี สร้างทักษะการเคลื่อนไหวป้องกันการบาดเจ็บจากการหกล้มในวัยผู้ใหญ่และวัยผู้สูงอายุ กิจกรรมทางกาย (Physical activity) เป็นการทำกิจกรรมเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายซึ่งเกิดจากการทำงานของกล้ามเนื้อลาย และทำให้มีการใช้พลังงานมากขึ้นจากภาวะปกตอขณะพัก การเคลื่อนไหวร่างกายสามารถจัดหมวดหมู่ได้เป็น 4 ประเภท จตามบริบทที่กระทำได้แก่ 1. การทำงานประกอบอาชีพ (Occupational activity) 2. การทำงานบ้าน/งานสวน (Household activity) 3. การเดินทางจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง (Transportation activity) 4. การทำกิจกรรมในเวลาว่างหรืองานอดิเรก (Leisuer time activity) ดังนั้น กิจกรรมทางกาย (Physical activity) เป็นการเคลื่อนไหวร่างกาย ซึ่งถ้าได้กระทำสม่ำเสมอ จะเป็นกิจกรรมที่สร้างเสริมสุขภาพและมีผลต่อการป้องกันโรคที่สำคัญต่อไปนี้คือ โรคหัวใจและหลอดเลือดหัวใจตีบ เส้นเลือดในสมองตีบ (ischemic stroke) โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรคกระดูกพรุนในผู้สูงอายุ โรคอ้วน ลดความเสี่ยงจากโรคมะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ โรคซึมเศร้าและวิตกกังวล ฯลฯ ชมรมฟุตลบอลตำบลเกาะนางคำ จึงได้เล็งเห็นความสำคัญและประโยชน์ของกิจกรรมทางกาย (Physical activity) จึงได้เสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (Physical activity) ขึ้น เพื่อส่งเสริมสุขภาพของเด็ก เยาวชนและประชาชนในหมู่ที่ 4 และ 8 ของตำบลเกาะนางคำ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและสร้างความตระหนักของกิจกรรมทางกาย (Physical activity)
  2. เพื่อลดพฤติกรรม "เนือยนิ่ง" หรือพฤติกรรมสโลว์ในวัยเด็ก เยาวชนและประชาชน
  3. เพื่อจัดกิจกรรมทางกายให้แก่เด็ก เยาวชนและประชาชน
  4. เพื่อให้เด็ก เยาวชนและประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง ลดภาวะเสี่ยงของโรคต่างๆ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการ เพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ
  2. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องกิจกรรมทางกาย (Physical activity)
  3. จัดกิจกรรมทางกาย (Physical activity)
  4. สรุปผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้นำชุมชน 5

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมทางกาย (Physical activity)
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักถึงประโยชน์ของกิจกรรมทางกาย (Physical activity) และโทษหากละเลย
  3. ลดพฤติกรรม "เนือยนิ่ง" หรือพฤติกรรมสโลว์ ในวัยเด็ก เยาวชนและประชาชนลดลง
  4. ผู้เข้าร่วมโครงการได้ร่วมกิจกรรมทางกาย (Physical activity) ร่วมกัน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและสร้างความตระหนักของกิจกรรมทางกาย (Physical activity)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงกิจกรรมทางกาย (Physical activity)
0.00

 

2 เพื่อลดพฤติกรรม "เนือยนิ่ง" หรือพฤติกรรมสโลว์ในวัยเด็ก เยาวชนและประชาชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถลดพฤติกรรม "เนือยนิ่ง" หรือพฤติกรรมสโลว์
0.00

 

3 เพื่อจัดกิจกรรมทางกายให้แก่เด็ก เยาวชนและประชาชน
ตัวชี้วัด : เด็ก เยาวชนและประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมทางกายร้อยละ 100
0.00

 

4 เพื่อให้เด็ก เยาวชนและประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง ลดภาวะเสี่ยงของโรคต่างๆ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพแข็งแรงและลดภาวะเสี่ยงของโรคต่างๆ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้นำชุมชน 5

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและสร้างความตระหนักของกิจกรรมทางกาย (Physical activity) (2) เพื่อลดพฤติกรรม "เนือยนิ่ง" หรือพฤติกรรมสโลว์ในวัยเด็ก เยาวชนและประชาชน (3) เพื่อจัดกิจกรรมทางกายให้แก่เด็ก เยาวชนและประชาชน (4) เพื่อให้เด็ก เยาวชนและประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง ลดภาวะเสี่ยงของโรคต่างๆ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการ เพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ (2) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องกิจกรรมทางกาย (Physical activity) (3) จัดกิจกรรมทางกาย (Physical activity) (4) สรุปผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (Physical activity) จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3333-02-27

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายศิริ วุ่นชูแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด