กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อให้เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งในด้านลักษณะและชนิดของสารเสพติด สถานการณ์การแพร่ระบาด วิธีการป้องกันไม่ให้ติดยา/สารเสพติด
ตัวชี้วัด : กลุ่มเด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งในด้าน ลักษณะและชนิดของสารเสพติด สถานการณ์การแพร่ระบาด และวิธีการป้องกันไม่ให้ติดยา/ สารเสพติด
50.00

กลุ่มเด็กและเยาวชน อายุระหว่าง ๑๔ – ๒๕ ปี จานวน ๕๐ คน

2 ๒. เพื่อให้เด็ก เยาวชน และผู้ปกครอง มีความสามารถในการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา/สารเสพติดและการป้องกันไปยัง ครอบครัว ชุมชนได้
ตัวชี้วัด : กลุ่มเด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง ผู้นาภาคปกครองท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น มีความสามารถในการ เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา/สารเสพติดและการป้องกันไปยัง ครอบครัว ชุมชนได้
60.00

กลุ่มผู้ปกครอง กลุ่มผู้นำภาคปกครองท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น ( กลุ่มวัยผู้ใหญ่ ) จานวน ๖๐ คน

3 ๓. เพื่อกระตุ้นให้แด็กและเยาวชนตระหนักถึงโทษและข้อเสียของยาเสพติด และมีทักษะในการใช้ชีวิตโดยสามารถหลีกเลี่ยงจากยาเสพติดได้
ตัวชี้วัด : กลุ่มเด็กและเยาวชนได้ตระหนักถึงโทษและข้อเสียของยาเสพติด และมีทักษะในการใช้ชีวิตโดย สามารถหลีกเลี่ยงจากยาเสพติดได้
110.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งในด้านลักษณะและชนิดของสารเสพติด สถานการณ์การแพร่ระบาด วิธีการป้องกันไม่ให้ติดยา/สารเสพติด (2) ๒. เพื่อให้เด็ก เยาวชน และผู้ปกครอง มีความสามารถในการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา/สารเสพติดและการป้องกันไปยัง ครอบครัว ชุมชนได้ (3) ๓. เพื่อกระตุ้นให้แด็กและเยาวชนตระหนักถึงโทษและข้อเสียของยาเสพติด และมีทักษะในการใช้ชีวิตโดยสามารถหลีกเลี่ยงจากยาเสพติดได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด (2) เดินขบวนรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh