กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในการประกอบอาชีพในกลุ่มเกษตรกรปลูกพืชล้มลุกระยะสั้น หมู่1 ตำบลสะพานไม้แก่น
รหัสโครงการ 63-L5187-02-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มเกษตรกรปลูกพืชล้มลุกระยะสั้น
วันที่อนุมัติ 28 กุมภาพันธ์ 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 16,140.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนิพนธ์ แทนมณี ประธานกลุ่มเกษตรกรปลูกพืชล้มลุกระยะสั้น
พี่เลี้ยงโครงการ นายอะหมัด หรีขาหลี
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.826,100.783place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานแรงงานนอกระบบ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 16 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ (คน)
16.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ประชาชนส่วนใหญ่ของตำบลอยู่ในภาคเกษตรกรรม เช่น ทำนา ทำไร่ ทำสวนผลไม้และสวนยางพาราซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานนอกระบบ แต่ทำงานที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพจากสภาพภูมิอากาศที่ร้อนจัด พักผ่อนไม่เพียงพอ ท่าทางการทำงานที่มีความเสี่ยงต่อการปวดหลังและกล้ามเนื้ออักเสบ เสี่ยงต่ออันตรายต่อสัตว์มีพิษหรืออุบัติเหตุ รวมทั้งการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพมีพิษทั้งแบบเฉียบพลัน และเรื้อรัง การไม่ได้พักผ่อนหรือพักผ่อนไม่เพียงพอ การยกของหนัก อันตรายจากสัตว์มีพิษกัด อุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพ
ปัญหาของเกษตรกรการทำสวนยางพาราที่กล่าวในเบื้องต้นทั้งจากการใช้แรงงาน ด้านการยศาสตร์ การสัมผัส สารเคมี ไป มีความเสี่ยงต่อการเกิดการเจ็บป่วย จากปัจจัยด้าน กายภาพ ด้านชีวภาพ ด้านเคมี และด้านจิตสังคม รวมถึงการก่อมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมทั้งทางดิน และทางน้ำ และ ยังส่งผลกระทบในวงกว้าง ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน ซึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นเกิดจากเกษตรกรดูแลตนเองไม่เหมาะสม ดังนั้นในการแก้ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อเกษตรกร ต้องสร้าง กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้เกี่ยวข้องหลายภาคส่วนในชุมชนเป็นสำคัญ เนื่องจากธรรมชาติมีการ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มนุษย์จึงต้องมีการเรียนรู้ เพื่อเป็นเครื่องมือที่จะเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในตำบลในการประกอบอาชีพสวนยางพารา ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ขึ้นเพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจสุขภาพ เพื่อทำการเฝ้าระวังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง และให้ความรู้ด้านการยศาตร์ในการประกอบอาชีพที่ถูกต้องต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่

จำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ เพิ่มขึ้น(คน)

16.00 16.00
2 มีฐานข้อมูลปัญหาสุขภาพจากการประกอบอาชีพการเกษตร

มีฐานข้อมูลที่ถูกต้องไม่น้อยกว่า 60 คน

80.00
3 เพื่อลดปัญหาสุขภาพจากปัจจัยเสี่ยงในการประกอบอาชีพ

ปัญหาด้านสุขภาพจากการประกอบอาชีพลดลง ร้อยละ 5

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 146 16,140.00 5 14,090.00
1 มิ.ย. 63 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินงาน 16 400.00 400.00
18 มิ.ย. 63 การอบรมอาสาสมัครแรงงานนอกระบบ 17 6,420.00 6,420.00
1 - 6 ก.ค. 63 การสำรวจและบันทึกข้อมูลลงเวปไซด์ปัญหาสุขภาพจากการประกอบอาชีพเกษตรกร 80 1,600.00 0.00
29 ก.ค. 63 การอบรมสร้างความปลอดภัยสำหรับเกษตรกรปลูกพืชระยะสั้น 17 7,320.00 7,270.00
6 ส.ค. 63 ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน 16 400.00 0.00
  1. จัดประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
  2. จัดอบรมอาสาสมัครแรงงานนอกระบบ
  3. การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ
  4. การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยงสำรวจอุบัติเหตุ ปัญหาการเจ็บป่วย ของเกษตรกรในพื้นที่
  5. การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรมให้ความรู้
  6. การส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
  7. การเยี่ยม ประเมินภาวะสุขภาพ และค้นหาปัจจัยเสี่ยง
  8. สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. กลุ่มเกษตรกรปลูกพืชล้มลุก มีความรู้ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงานได้อย่างถูกต้อง ๒. กลุ่มเกษตรกรปลูกพืชล้มลุกที่เข้าร่วมกิจกรรม เป็นแกนนำส่งเสริมสุขภาพ นำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้กับเกษตรกรอื่นๆที่ไม่ได้เข้าร่วม ๓. เกษตรกรปลูกพืชล้มลุกมีความปลอดภัยในการประกอบอาชีพ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 พ.ค. 2563 11:25 น.