โครงการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ”
ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลรูสะมิแล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองรูสะมิแล
พฤษภาคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)
ที่อยู่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-L3018-05-28 เลขที่ข้อตกลง 26
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2563 ถึง 31 พฤษภาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองรูสะมิแล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3018-05-28 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤษภาคม 2563 - 31 พฤษภาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 62,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองรูสะมิแล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่สำนักจุฬาราชมนตรี ได้มีประกาศเรื่อง มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVD-19) ว่าด้วยการผ่อนปรนให้ปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ (ญุมอะห์) และแนวทางปฏิบัติ (ฉบับที่ 5/2563) ลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2563 โดยให้คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัด ใช้ดุลยพินิจร่วมกับคณะกรรมการอิสลามประจำมัสยิด และขอคำปรึกษาจากผู้ว่าราชการจังหวัด ในฐานะประธานกรรมการโรคติดต่อจังหวัด และผู้กำกับการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินจังหวัด เพื่อให้การการปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ผลการประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดปัตตานี ครั้งที่ 13/2563 เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2563 เห็นชอบให้มีการผ่อนปรนในการปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ ตามประกาศ ของจุฬาราชมนตรี โดยกำหนดเวลาที่เหมาะสม คือตั้งแต่วันศุกร์ ที่ 22 พฤษภาคม 2563 เป็นตันไป ซึ่งประธานกรรมการโรคติดต่อจังหวัดปัตตานี แจ้งอีกว่า ทั้งนี้ จะขึ้นอยู่กับความพร้อมของมัสยิด ที่จะจัดการละหมาดวันศุกร์ ให้เกิดความเรียบร้อย โดยคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดปัตตานี ให้กรรมการมัสยิดพิจารณาว่า หากมีการไปร่วมละหมาดเกินจำนวนเครื่องหมายที่กำหนดไว้ในมัสยิด การเข้าออกมัสยิด และการบริหารเวลาละหมาดที่เหมาะสม ถือเป็นเรื่องสำคัญที่สุด ควรจะมีการจัดการอย่างไร เพื่อเป็นการเว้นระยะห่างทางสังคม และปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ทั้งนี้ ได้แจ้งแนวทางการปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ ดังนี้
สำหรับมัสยิด
1. ให้กรรมการอิสลามประจำมัสยิด หรือหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ มาตรวจวัดอุณหภูมิก่อนเข้ามัสยิด
2. ให้จัดวางเจลล้างมือแอลกอฮอล์ไว้บริเวณประตูทางเข้ามัสยิด
3. งดใช้บ่อน้ำ (กอเลาะห์) หรืออ่างใหญ่ร่วมกัน
4. ให้ทำความสะอาดพื้นมัสยิดก่อน และหลังการละหมาดวันศุกร์ (ญุมอะห์) ทุกครั้ง และไม่เปิดเครื่องปรับอากาศ โดยให้เปิดหน้าต่างมัสยิด ผ้าม่านเพื่อให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก
5. ให้จัดทำเครื่องหมายจุดละหมาดที่สามารถระบุตำแหน่งได้ โดยให้เว้นระยะห่างระหว่างแต่ละจุด 1.50-2 เมตร
6. ให้ควบคุมทางเข้าออกมัสยิด และจัดระเบียบระยะห่างขณะเดินเข้า และเดินออกจากมัสยิดหลังเสร็จสิ้นการละหมาดวันศุกร์ (ญุมอะห์)
สำหรับผู้เข้าร่วมปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์
1. ให้อาบน้ำละหมาดจากที่บ้าน
2. ใหใช้ผ้าปูละหมาด (ผ้าซะญาดะห์) ส่วนตัว โดยนำมาจากบ้าน
3. ให้ล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ที่มัสยิดจัดเตรียมไว้
4. ให้สวมหน้ากากอนามัยตลอดระยะเวลาของการปฏิบัติศาสนกิจ
5. งดการสลามด้วยการสัมผัสมือ การสวมกอด และการสัมผัสแก้ม โดยให้ยกมือพร้อมกล่าวสลามเท่านั้น
6. เด็กและสตรีให้งดการร่วมละหมาดวันศุกร์ (ญุมอะห์) ที่มัสยิด
7. หากมีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ มีน้ำมูก แม้จะมีอาการไม่มาก ให้งดการไปร่วมละหมาดวันศุกร์ที่มัสยิด
การปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์
1. ให้เว้นระยะห่างระหว่างแถว และในแถว 1.50-2 เมตร และให้ยืนตามจุดที่มัสยิดได้จัดทำเครื่องหมายไว้
2. ให้กระชับเวลาในการละหมาดวันศุกร์ (ญุมอะห์) นับตั้งแต่อะซาน คุตบะห์ และละหมาดไม่เกิน 20 นาที และยังคงให้งดการจัดกิจกรรมทางศาสนา และกิจกรรมอื่นที่มีการรวมตัวกันเป็นกลุ่มทุกประเภท ตลอดจนการเลี้ยงละศีลอด
ประกอบกับนายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลรูสะมิแล เห็นว่าควรให้การสนับสนุนพี่น้องมุสลิมเพื่อปฏิบัติศาสนกิจตามมาตรการผ่อนปรนดังกล่าว จึงสั่งการให้กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมดำเนินการจัดทำโครงการเพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) แก่ประชาชนในพื้นที่ตำบล รูสะมิแลที่เข้าร่วมปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ ในการนี้กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมจึงได้จัดทำโครงการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ในศาสนสถานตำบลรูสะมิแล ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อจัดซื้ออุปกรณ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) สำหรับตรวจคัดกรองแก่ผู้ที่เข้าร่วมปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ในศาสนสถานตำบลรูสะมิแล
- 2เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดยสร้างความตระหนักให้ประชาชนในการดูแลและป้องกันตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1มีอุปกรณ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
สำหรับตรวจคัดกรองแก่ผู้ที่เข้าร่วมปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ในศาสนสถานตำบลรูสะมิแล
2 ประชาชนเกิดความตระหนักในการดูแลและป้องกันตนเองเพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อจัดซื้ออุปกรณ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) สำหรับตรวจคัดกรองแก่ผู้ที่เข้าร่วมปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ในศาสนสถานตำบลรูสะมิแล
ตัวชี้วัด :
0.00
2
2เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดยสร้างความตระหนักให้ประชาชนในการดูแลและป้องกันตนเอง
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1000
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อจัดซื้ออุปกรณ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) สำหรับตรวจคัดกรองแก่ผู้ที่เข้าร่วมปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ในศาสนสถานตำบลรูสะมิแล (2) 2เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดยสร้างความตระหนักให้ประชาชนในการดูแลและป้องกันตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-L3018-05-28
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลรูสะมิแล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ”
ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลรูสะมิแล
พฤษภาคม 2563
ที่อยู่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-L3018-05-28 เลขที่ข้อตกลง 26
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2563 ถึง 31 พฤษภาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองรูสะมิแล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3018-05-28 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤษภาคม 2563 - 31 พฤษภาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 62,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองรูสะมิแล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่สำนักจุฬาราชมนตรี ได้มีประกาศเรื่อง มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVD-19) ว่าด้วยการผ่อนปรนให้ปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ (ญุมอะห์) และแนวทางปฏิบัติ (ฉบับที่ 5/2563) ลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2563 โดยให้คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัด ใช้ดุลยพินิจร่วมกับคณะกรรมการอิสลามประจำมัสยิด และขอคำปรึกษาจากผู้ว่าราชการจังหวัด ในฐานะประธานกรรมการโรคติดต่อจังหวัด และผู้กำกับการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินจังหวัด เพื่อให้การการปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ผลการประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดปัตตานี ครั้งที่ 13/2563 เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2563 เห็นชอบให้มีการผ่อนปรนในการปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ ตามประกาศ ของจุฬาราชมนตรี โดยกำหนดเวลาที่เหมาะสม คือตั้งแต่วันศุกร์ ที่ 22 พฤษภาคม 2563 เป็นตันไป ซึ่งประธานกรรมการโรคติดต่อจังหวัดปัตตานี แจ้งอีกว่า ทั้งนี้ จะขึ้นอยู่กับความพร้อมของมัสยิด ที่จะจัดการละหมาดวันศุกร์ ให้เกิดความเรียบร้อย โดยคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดปัตตานี ให้กรรมการมัสยิดพิจารณาว่า หากมีการไปร่วมละหมาดเกินจำนวนเครื่องหมายที่กำหนดไว้ในมัสยิด การเข้าออกมัสยิด และการบริหารเวลาละหมาดที่เหมาะสม ถือเป็นเรื่องสำคัญที่สุด ควรจะมีการจัดการอย่างไร เพื่อเป็นการเว้นระยะห่างทางสังคม และปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ทั้งนี้ ได้แจ้งแนวทางการปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ ดังนี้ สำหรับมัสยิด 1. ให้กรรมการอิสลามประจำมัสยิด หรือหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ มาตรวจวัดอุณหภูมิก่อนเข้ามัสยิด 2. ให้จัดวางเจลล้างมือแอลกอฮอล์ไว้บริเวณประตูทางเข้ามัสยิด 3. งดใช้บ่อน้ำ (กอเลาะห์) หรืออ่างใหญ่ร่วมกัน 4. ให้ทำความสะอาดพื้นมัสยิดก่อน และหลังการละหมาดวันศุกร์ (ญุมอะห์) ทุกครั้ง และไม่เปิดเครื่องปรับอากาศ โดยให้เปิดหน้าต่างมัสยิด ผ้าม่านเพื่อให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก 5. ให้จัดทำเครื่องหมายจุดละหมาดที่สามารถระบุตำแหน่งได้ โดยให้เว้นระยะห่างระหว่างแต่ละจุด 1.50-2 เมตร 6. ให้ควบคุมทางเข้าออกมัสยิด และจัดระเบียบระยะห่างขณะเดินเข้า และเดินออกจากมัสยิดหลังเสร็จสิ้นการละหมาดวันศุกร์ (ญุมอะห์) สำหรับผู้เข้าร่วมปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ 1. ให้อาบน้ำละหมาดจากที่บ้าน 2. ใหใช้ผ้าปูละหมาด (ผ้าซะญาดะห์) ส่วนตัว โดยนำมาจากบ้าน 3. ให้ล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ที่มัสยิดจัดเตรียมไว้ 4. ให้สวมหน้ากากอนามัยตลอดระยะเวลาของการปฏิบัติศาสนกิจ 5. งดการสลามด้วยการสัมผัสมือ การสวมกอด และการสัมผัสแก้ม โดยให้ยกมือพร้อมกล่าวสลามเท่านั้น 6. เด็กและสตรีให้งดการร่วมละหมาดวันศุกร์ (ญุมอะห์) ที่มัสยิด 7. หากมีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ มีน้ำมูก แม้จะมีอาการไม่มาก ให้งดการไปร่วมละหมาดวันศุกร์ที่มัสยิด การปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ 1. ให้เว้นระยะห่างระหว่างแถว และในแถว 1.50-2 เมตร และให้ยืนตามจุดที่มัสยิดได้จัดทำเครื่องหมายไว้ 2. ให้กระชับเวลาในการละหมาดวันศุกร์ (ญุมอะห์) นับตั้งแต่อะซาน คุตบะห์ และละหมาดไม่เกิน 20 นาที และยังคงให้งดการจัดกิจกรรมทางศาสนา และกิจกรรมอื่นที่มีการรวมตัวกันเป็นกลุ่มทุกประเภท ตลอดจนการเลี้ยงละศีลอด ประกอบกับนายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลรูสะมิแล เห็นว่าควรให้การสนับสนุนพี่น้องมุสลิมเพื่อปฏิบัติศาสนกิจตามมาตรการผ่อนปรนดังกล่าว จึงสั่งการให้กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมดำเนินการจัดทำโครงการเพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) แก่ประชาชนในพื้นที่ตำบล รูสะมิแลที่เข้าร่วมปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ ในการนี้กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมจึงได้จัดทำโครงการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ในศาสนสถานตำบลรูสะมิแล ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อจัดซื้ออุปกรณ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) สำหรับตรวจคัดกรองแก่ผู้ที่เข้าร่วมปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ในศาสนสถานตำบลรูสะมิแล
- 2เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดยสร้างความตระหนักให้ประชาชนในการดูแลและป้องกันตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,000 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1มีอุปกรณ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
สำหรับตรวจคัดกรองแก่ผู้ที่เข้าร่วมปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ในศาสนสถานตำบลรูสะมิแล
2 ประชาชนเกิดความตระหนักในการดูแลและป้องกันตนเองเพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อจัดซื้ออุปกรณ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) สำหรับตรวจคัดกรองแก่ผู้ที่เข้าร่วมปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ในศาสนสถานตำบลรูสะมิแล ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | 2เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดยสร้างความตระหนักให้ประชาชนในการดูแลและป้องกันตนเอง ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1000 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,000 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อจัดซื้ออุปกรณ์ป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) สำหรับตรวจคัดกรองแก่ผู้ที่เข้าร่วมปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ในศาสนสถานตำบลรูสะมิแล (2) 2เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดยสร้างความตระหนักให้ประชาชนในการดูแลและป้องกันตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-L3018-05-28
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลรูสะมิแล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......