กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ เฝ้าระวังควบคุมและป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
รหัสโครงการ 63-L5272-1-17
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
วันที่อนุมัติ 16 เมษายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 16 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 200,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ น.ส.วารุจี จุลนวล
พี่เลี้ยงโครงการ คุณดวงใจ อ่อนแก่้ว
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคูเต่า อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.133,100.481place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีแนวโน้มการระบาดกระจายไปทั่วประเทศ มีผู้ป่วยติดเชื้อและกลุ่มที่ต้องเฝ้าระวังเพิ่มมากขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพกาย สุขภาพใจ รวมทั้งรายได้และการใช้ชีวิตของประชาชน โดยองค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็น "ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ"

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

 

0.00
2 เพื่อลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของดรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) ในพื้นที่

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.ประชุมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อสม ผู้นำชุมชน
2.จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณืต่างๆ 3.สร้างความรู้ความเข้าใจกับกลุ่มเสี่ยง ครอบครัว 4.ติดตาม ดูแล เฝ้าสังเกตอาการของกลุ่มเสี่ยง 5.กรณีพบว่ากลุ่มเสี่ยงที่กักตัวเพื่อเฝ้าสังเกตอาการมีความผิดปกติที่เข้าข่ายเข้ารับการตรวจ 6.ฉีดพ่นฆ่าเชื้อสถานที่กักตัว

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองและสามารถปฏิบัติตนในการเฝ้าระวังสังเกตอาการได้อย่างถูกต้อง 2.ลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัวโคโรนา 2019 (COVID-19)ในพื้นที่ 3.ประชาชนและชุมชนมีความปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19)

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 พ.ค. 2563 15:01 น.