โครงการประชาร่วมใจ ขจัดภัยไข้เลือดออก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการประชาร่วมใจ ขจัดภัยไข้เลือดออก ”
ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสุไพพิชญ์ ศรีขำ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามเหนือ
มีนาคม 2564
ชื่อโครงการ โครงการประชาร่วมใจ ขจัดภัยไข้เลือดออก
ที่อยู่ ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2563-L1494-2-20 เลขที่ข้อตกลง 3/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการประชาร่วมใจ ขจัดภัยไข้เลือดออก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการประชาร่วมใจ ขจัดภัยไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการประชาร่วมใจ ขจัดภัยไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2563-L1494-2-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มีนาคม 2563 - 31 มีนาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,286.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการระบาดของโรคไข้เลือดออกซึ่งมีการติดต่อและพาหะนำโรคคือยุงลายบ้านและยุงลายสวน นโยบายของกระทรวงสสาธารณสุขจึงมีการกำหนดให้พื้นที่มีอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร ทั้งนี้พื้นที่ต้องดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกทันที่ภายใน 24 ชั่วโมง หลังจากได้รับการรายงานและต้องไม่มีผู้ป่วยซ้ำในระยะช่วงวันที่ 15-30 ของผู้ป่วยรายแรก ซึ่งถ้ามีจะถือได้ว่าการควบคุมโรคไม่ประสบความสำเร็จ การป้องกันโรคในพื้นที่โดยการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดยุงลาย เพื่อจะลดพาหะนำโรคให้น้อยลง ทำให้การระบาดของโรคไข้เลือดออกสามารถที่จะควบคุมได้ง่าย
จากข้อมูลทางด้านระบาดวิทยาในปี 2562 มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกทั่วประเทศ จำนวน 105,190 ราย อัตราป่วย 158.65 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 114 ราย อัตราป่วย-ตายร้อยละ 0.11 จังหวัดตรังอยู่ลำดับที่ 53 ของประเทศ จังหวัดตรังมีผู้ป่วยโรคเลือดออกในปี 2562 จำนวน 634 ราย อัตราป่วย 98.59 ต่อแสนประชากร ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต อำเภอเมืองตรัง จำนวนทั้งสิ้น 135 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 86.15 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิตตำบลนาท่ามเหนือ จำนวน 9 คน คิดเป็นอัตราป่วย 141.96 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต พบผู้ป่วยเพศขายมากกว่าเพศหญิง โดยพบเพศชาย 7 ราย เพศหญิง 2 ราย อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง เท่ากับ 3.5:1 โรคไข้เลือดออกยังเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขซึ่งต้องเฝ้าระวังควบคุม และ ป้องกันอย่งต่อเนื่อง ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนาท่ามเหนือ จึงได้จัดทำโครงการประชาร่วมใจขจัดภัยโรคไข้เลือดออกขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- 1. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์การรักษา/การป้องกันและการควบคุมโรคในพื้นที่
- กิจกรรมดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่กรณีพบผู้ป่วย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
51
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนในพื้นที่สามารถดูแลตนเองในการควบคุมป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์การรักษา/การป้องกันและการควบคุมโรคในพื้นที่
วันที่ 17 ธันวาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ประชาสัมพันธ์การรักษา การป้องกันและการควบคุมโรคในพื้นที่
ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาสัมพันธ์การรักษา/การป้องกันและการควบคุมโรคในพื้นที่จำนวน 2 ครั้ง
- รับแจ้งผู้ป่วยเพื่อควบคุมโรค ก.ค.63 -มี.ค. 64 จำนวน 25 ราย
- ผู้ป่วยยืนยันโรคไข้เลือดออก ก.ค.63 - มี.ค. 64 จำนวน 5 ราย ลดลง
51
0
2. กิจกรรมดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่กรณีพบผู้ป่วย
วันที่ 18 ธันวาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่กรณีพบผู้ป่วย
- รับแจ้งผู้ป่วยเพื่อควบคุมโรค ก.ค.63- มี.ค. 64 จำนวน 25 ราย
- ผู้ป่วยยืนยันโรคไข้เลือดออก ก.ค. 63- มี.ค.64 จำนวน 5 ราย ลดลง
- ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในภาชนะ และบริเวณบ้าน
51
0
3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
วันที่ 18 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก ชี้แจงสถานการณ์โรคและแนวทางการดำเนินโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก ชี้แจงสถานการณ์โรคกลุ่มเป้าหมาย อสม.จำนวน 51 คน
51
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผลการดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก ชี้แจงสถานการณ์โรค กลุ่มเป้าหมาย อสม.จำนวน 51 คนเข้าร่วม 51 คน
- ประชาสัมพันธ์การรักษา/การป้องกันและการควบคุมโรคในพื้นที่จำนวน ครั้ง
- ดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่ กรณีพบผู้ป่วย
- รับแจ้งผุ้ป่วยเพื่อควบคุมโรค ก.ค. 63 - มี.ค. 64 จำนวน 25 ราย
- ผู้ป่วยยืนยันโรคไข้เลือดออก ก.ค. 63 - มี.ค. 64 จำนวน 5 ราย ลดลง
- คาดัชนีลูกน้ำยุงลาย ในภาชนะ (Container Index) บริเวณบ้าน (House Index)
ก.ค. 63 2.45 20.07
ส.ค. 63 2.86 15.65
ก.ย. 63 2.92 16.96
ต.ค. 63 5.49 33.58
พ.ย. 63 2.25 13.83
ธ.ค. 63 1.81 9.88
ม.ค. 64 1.24 7.91
ก.พ. 64 1.20 10.71
มี.ค. 64 1.56 5.62
- จัดซื้อโลชั่นทากันยุง จำนวน 2000 ซอง ๆ ละ 5 บาท เป็นเงิน 10000 บาท
- จัดซื้อสเปรย์ฆ่ายุงตัวแก่ในบ้าน จำนวน 200 กระป๋อง ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 20000 บาท
- ซื้อทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย จำนวน 1800 ซอง ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 18000 บาท
2. ผลสัมฤทธิ์ตามว้ตถุประสงค์
2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมในโครงการ 51 คน
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 70286 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง 64286 บาท คิดเป็นร้อยละ 91.46
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ 6000 บาท คิดเป็นร้อยละ 8.54
4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
ไม่มี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
90.00
90.00
2
1. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายไม่เกินร้อยละ 10 (container index และบริเวณบ้าน House index ไม่เกิน 10)
90.00
90.00
3
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด
90.00
90.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
51
53
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
51
53
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (2) 1. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน (3) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์การรักษา/การป้องกันและการควบคุมโรคในพื้นที่ (3) กิจกรรมดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่กรณีพบผู้ป่วย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการประชาร่วมใจ ขจัดภัยไข้เลือดออก จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2563-L1494-2-20
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุไพพิชญ์ ศรีขำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการประชาร่วมใจ ขจัดภัยไข้เลือดออก ”
ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสุไพพิชญ์ ศรีขำ
มีนาคม 2564
ที่อยู่ ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2563-L1494-2-20 เลขที่ข้อตกลง 3/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการประชาร่วมใจ ขจัดภัยไข้เลือดออก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการประชาร่วมใจ ขจัดภัยไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการประชาร่วมใจ ขจัดภัยไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2563-L1494-2-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มีนาคม 2563 - 31 มีนาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,286.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการระบาดของโรคไข้เลือดออกซึ่งมีการติดต่อและพาหะนำโรคคือยุงลายบ้านและยุงลายสวน นโยบายของกระทรวงสสาธารณสุขจึงมีการกำหนดให้พื้นที่มีอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร ทั้งนี้พื้นที่ต้องดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกทันที่ภายใน 24 ชั่วโมง หลังจากได้รับการรายงานและต้องไม่มีผู้ป่วยซ้ำในระยะช่วงวันที่ 15-30 ของผู้ป่วยรายแรก ซึ่งถ้ามีจะถือได้ว่าการควบคุมโรคไม่ประสบความสำเร็จ การป้องกันโรคในพื้นที่โดยการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดยุงลาย เพื่อจะลดพาหะนำโรคให้น้อยลง ทำให้การระบาดของโรคไข้เลือดออกสามารถที่จะควบคุมได้ง่าย จากข้อมูลทางด้านระบาดวิทยาในปี 2562 มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกทั่วประเทศ จำนวน 105,190 ราย อัตราป่วย 158.65 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 114 ราย อัตราป่วย-ตายร้อยละ 0.11 จังหวัดตรังอยู่ลำดับที่ 53 ของประเทศ จังหวัดตรังมีผู้ป่วยโรคเลือดออกในปี 2562 จำนวน 634 ราย อัตราป่วย 98.59 ต่อแสนประชากร ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต อำเภอเมืองตรัง จำนวนทั้งสิ้น 135 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 86.15 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิตตำบลนาท่ามเหนือ จำนวน 9 คน คิดเป็นอัตราป่วย 141.96 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต พบผู้ป่วยเพศขายมากกว่าเพศหญิง โดยพบเพศชาย 7 ราย เพศหญิง 2 ราย อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง เท่ากับ 3.5:1 โรคไข้เลือดออกยังเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขซึ่งต้องเฝ้าระวังควบคุม และ ป้องกันอย่งต่อเนื่อง ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนาท่ามเหนือ จึงได้จัดทำโครงการประชาร่วมใจขจัดภัยโรคไข้เลือดออกขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- 1. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์การรักษา/การป้องกันและการควบคุมโรคในพื้นที่
- กิจกรรมดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่กรณีพบผู้ป่วย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 51 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนในพื้นที่สามารถดูแลตนเองในการควบคุมป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์การรักษา/การป้องกันและการควบคุมโรคในพื้นที่ |
||
วันที่ 17 ธันวาคม 2563กิจกรรมที่ทำประชาสัมพันธ์การรักษา การป้องกันและการควบคุมโรคในพื้นที่ ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาสัมพันธ์การรักษา/การป้องกันและการควบคุมโรคในพื้นที่จำนวน 2 ครั้ง - รับแจ้งผู้ป่วยเพื่อควบคุมโรค ก.ค.63 -มี.ค. 64 จำนวน 25 ราย - ผู้ป่วยยืนยันโรคไข้เลือดออก ก.ค.63 - มี.ค. 64 จำนวน 5 ราย ลดลง
|
51 | 0 |
2. กิจกรรมดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่กรณีพบผู้ป่วย |
||
วันที่ 18 ธันวาคม 2563กิจกรรมที่ทำดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่กรณีพบผู้ป่วย - รับแจ้งผู้ป่วยเพื่อควบคุมโรค ก.ค.63- มี.ค. 64 จำนวน 25 ราย - ผู้ป่วยยืนยันโรคไข้เลือดออก ก.ค. 63- มี.ค.64 จำนวน 5 ราย ลดลง - ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในภาชนะ และบริเวณบ้าน
|
51 | 0 |
3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ |
||
วันที่ 18 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำจัดประชุมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก ชี้แจงสถานการณ์โรคและแนวทางการดำเนินโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก ชี้แจงสถานการณ์โรคกลุ่มเป้าหมาย อสม.จำนวน 51 คน
|
51 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผลการดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก ชี้แจงสถานการณ์โรค กลุ่มเป้าหมาย อสม.จำนวน 51 คนเข้าร่วม 51 คน
- ประชาสัมพันธ์การรักษา/การป้องกันและการควบคุมโรคในพื้นที่จำนวน ครั้ง
- ดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่ กรณีพบผู้ป่วย
- รับแจ้งผุ้ป่วยเพื่อควบคุมโรค ก.ค. 63 - มี.ค. 64 จำนวน 25 ราย - ผู้ป่วยยืนยันโรคไข้เลือดออก ก.ค. 63 - มี.ค. 64 จำนวน 5 ราย ลดลง - คาดัชนีลูกน้ำยุงลาย ในภาชนะ (Container Index) บริเวณบ้าน (House Index) ก.ค. 63 2.45 20.07 ส.ค. 63 2.86 15.65 ก.ย. 63 2.92 16.96 ต.ค. 63 5.49 33.58 พ.ย. 63 2.25 13.83 ธ.ค. 63 1.81 9.88 ม.ค. 64 1.24 7.91 ก.พ. 64 1.20 10.71 มี.ค. 64 1.56 5.62 - จัดซื้อโลชั่นทากันยุง จำนวน 2000 ซอง ๆ ละ 5 บาท เป็นเงิน 10000 บาท - จัดซื้อสเปรย์ฆ่ายุงตัวแก่ในบ้าน จำนวน 200 กระป๋อง ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 20000 บาท - ซื้อทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย จำนวน 1800 ซอง ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 18000 บาท 2. ผลสัมฤทธิ์ตามว้ตถุประสงค์ 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมในโครงการ 51 คน 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 70286 บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง 64286 บาท คิดเป็นร้อยละ 91.46 งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ 6000 บาท คิดเป็นร้อยละ 8.54 4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ไม่มี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง |
90.00 | 90.00 |
|
|
2 | 1. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายไม่เกินร้อยละ 10 (container index และบริเวณบ้าน House index ไม่เกิน 10) |
90.00 | 90.00 |
|
|
3 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด |
90.00 | 90.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 51 | 53 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 51 | 53 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (2) 1. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน (3) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์การรักษา/การป้องกันและการควบคุมโรคในพื้นที่ (3) กิจกรรมดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่กรณีพบผู้ป่วย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการประชาร่วมใจ ขจัดภัยไข้เลือดออก จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2563-L1494-2-20
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุไพพิชญ์ ศรีขำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......