กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติ ประจำปี 2563 ”

ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายชาติชาย แก้วเมฆ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติ ประจำปี 2563

ที่อยู่ ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2485 เลขที่ข้อตกลง 20/63

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 26 พฤษภาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติ ประจำปี 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติ ประจำปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติ ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2485 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2563 - 26 พฤษภาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากปัจจุบันได้มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก coronavirus disease
2019 ซึ่งเป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมื่อปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลันปอดอักเสพ และมีภาวะแทรกซ้อนพบแหล่งกำเนิดจากประเทศจีน จากที่มีผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสพและไข้หวัดใหญ่เป็นจำนวน มาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรม และได้พบว่าเป็นเชื้อไวรัสสายพันธ์ใหม่ในชื่อ ไวรัสโคโรน่า ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ 7 ที่ถูกค้นพบ เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส(SARS) และเมอร์ส (MERS) จากสถานการณ์ดังกล่าวมีประชาชนและเยาวชน ในเขตพื้นที่จำนวนมากที่ทำงานและกำลังศึกษาอยู่ต่างจังหวัด ถ้าหากบุคคลเหล่านี้เดินทางกลับภูมิ ลำเนาจะต้องถูกกักกันในสถานที่กักกัน ระยะเวลา 14 วัน นั้น จึงจำเป็นต้องมีการดำเนินจัดเตรียมสถานที่ วัสดุและอุปกรณ์ ให้พร้อมใช้แก่ผู้ถูกกักกัน ตลอดระยะเวลา 14 วัน เพื่อการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019(COVID–19) ตลอดจนอำนวยความสะดวกแก่ผู้ถูกกักกันในสถานที่กักกัน (Local Quarantine) ดังกล่าว   ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน มีอำนาจหน้าที่ในการป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ ตามที่กำหนดไว้ในมาตรา      67 (3) ตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ถึงฉบับที่6 พ.ศ.2552 ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติ ประจำปี 2563 ขึ้น เพื่อการป้องกันและควบคุมการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้มีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อการป้องกันและควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่
  2. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่
  3. เพื่อสร้างเครือ ข่ายการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่จึงจำเป็นต้องกักกันผู้ที่เดินทางกลับมาในภูมิลำเนา จากจังหวัดพื้นที่ที่มีความเสี่ยง และพร้อมทั้งอำนวยความสะดวกแก่ผู้ถูกกักกันในสถานที่กักกัน ให้มีวัสดุอุปกรณ์พร้อมใช้ในสถานที่กักกัน (Local Quarantine) ตลอดในระยะเวลา 14 วัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่

วันที่ 1 พฤษภาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1) ประชุมชี้แจงและวางแผนโครงการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง     2) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ  การป้องกันและควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ 3) ฝึกปฏิบัติการออกสอบสวนโรคในพื้นที่ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข     4) จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่     5) สรุปผลการดำเนินงานโครงการ ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่จึงจำเป็นต้องกักกันผู้ที่เดินทางกลับมาในภูมิลำเนา จากจังหวัดพื้นที่ที่มีความเสี่ยง และพร้อมทั้งอำนวยความสะดวกแก่ผู้ถูกกักกันในสถานที่กักกัน ให้มีวัสดุอุปกรณ์พร้อมใช้ในสถานที่กักกัน (Local Quarantine) ตลอดในระยะเวลา 14 วัน

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อการป้องกันและควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ในพื้นที่มีการเฝ้าระวังและป้องกันโรคระบาด โคโรน่า (COVID-19) ร่วมกันของภาคีเครือข่ายในพื้นที่
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อสร้างเครือ ข่ายการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อการป้องกันและควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ (2) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ (3) เพื่อสร้างเครือ ข่ายการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติ ประจำปี 2563 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2485

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชาติชาย แก้วเมฆ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด