กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ


“ โครงการการคัดกรองและการป้องกันการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในศาสนสถานพื้นที่ตำบลกะมิยอ ”

หมู่ที่ 1 - 7 ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลเลาะ ตาแกะ

ชื่อโครงการ โครงการการคัดกรองและการป้องกันการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในศาสนสถานพื้นที่ตำบลกะมิยอ

ที่อยู่ หมู่ที่ 1 - 7 ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3009-02-11 เลขที่ข้อตกลง 011/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการคัดกรองและการป้องกันการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในศาสนสถานพื้นที่ตำบลกะมิยอ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 1 - 7 ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการคัดกรองและการป้องกันการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในศาสนสถานพื้นที่ตำบลกะมิยอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการคัดกรองและการป้องกันการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในศาสนสถานพื้นที่ตำบลกะมิยอ " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 1 - 7 ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3009-02-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,986.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี โดยศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) COVID-19 จังหวัดปัตตานี รายงานสถานการณ์โรค COVID-19 จังหวัดปัตตานี เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2563 มีผู้ป่วยยืนยัน 91 ราย เสียชีวิต  1 ราย และในอำเภอเมือง มีผู้ป่วยยืนยัน 2 ราย และมีผู้ป่วยยืนยันของตำบลสะดาวา อำเภอยะรังที่ติดกับพื้นที่ตำบล    กะมิยอ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 2 ราย ในช่วงที่ผ่านมาถึงตำบลกะมิยอ ได้ดำเนินการป้องกันควบคุมโรคระบาดดังกล่าวไปแล้ว ทั้งการจัดอบรมความรู้เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา COVID-19 อบรมการทำหน้ากากอนามัยให้ ครูก. เพื่อสอนประชาชนจัดทำหน้ากากอนามัยแบบผ้า การสนับสนุนหน้ากากอนามัยแบบผ้าแก่ประชาชนในพื้นที่ การจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โรคและการป้องกันควบคุมโรค การจัดรถแห่ประชาสัมพันธ์ และการทำความสะอาดมัสยิด เป็นต้น แต่ยังมีอีกหลายกิจกรรมที่ต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาโรคระบาด เช่น การคัดกรองโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา COVID-19 ผู้ที่มาร่วมละหมาดวันศุกร์ วัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา COVID-19 เป็นต้น โดยทาง        สำนักจุฬาราชมนตรีได้มีการประกาศจุฬาราชมนตรี ฉบับที่ 5/2563 วันที่ 3 พฤษภาคม 2563 เรื่องมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 2019) ว่าด้วยการผ่อนปรนให้ปฏิบัติศาสนกิจละหมาด    วันศุกร์ (ญุมอะห์) และแนวทางปฏิบัติ ซึ่งทางคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดปัตตานีได้มีการประชุมครั้งที่ 13/2563 ในวันที่ 5 พฤษภาคม 2563 เพื่อติดตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และประเด็นสำคัญในที่ประชุมคือการผ่อนปรนให้ปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ ตามประกาศของจุฬาราชมนตรีฉบับที่ 5/2563 นั้น ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของประธานคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดปัตตานีร่วมกับกรรมการประจำมัสยิด          ว่ามีความพร้อมในการจัดละหมาดตามกรอบที่กำหนดเมื่อไหร่ ซึ่งในส่วนคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดนั้น เห็นชอบว่าเวลาที่เหมาะสม ที่จะละหมาดวันศุกร์ได้ คือ ตั้งแต่วันศุกร์ที่ 22 พฤษภาคม 2563 เป็นต้นไป ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับ        ความพร้อมของมัสยิด ที่จะจัดการละหมาดวันศุกร์ให้เกิดความเรียบร้อย       ในการนี้ทางชมรมอีหม่าม ตำบลกะมิยอ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานีได้มีการประชุมร่วมกับทีมงาน        ฝ่ายสาธารณสุขขององค์การบริหารส่วนตำบลกะมิยอ ทีมชมรมกำนัน ผู้ใหญ่บ้านตำบลกะมิยอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะมิยอ และปลัดอำเภอประจำตำบลกะมิยอ ทุกฝ่ายได้เห็นพร้อมผ่องกันว่ามัสยิดในพื้นที่ตำบลกะมิยอมีความพร้อมที่จะจัดการละหมาดวันศุกร์ให้เกิดความเรียบร้อย ตั้งแต่วันศุกร์ที่ 22 พฤษภาคม 2563 เป็นต้นไป ทั้งนี้ทางชมรมอีหม่าม ตำบลกะมิยอ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี จึงได้จัดทำโครงการการคัดกรองและการป้องกันการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในศาสนสถานพื้นที่ตำบลกะมิยอ เพื่อขอใช้งบประมาณดังกล่าวมาดำเนินการกิจกรรมที่เป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ประกอบด้วยกิจกรรมในลักษณะ ดังนี้
1.การรณรงค์ให้ความรู้เรื่อง อาการและการป้องกันโรคผ่านช่องทางต่างๆ เช่น ป้ายประชาสัมพันธ์ แผ่นพับ รถแห่ประชาสัมพันธ์ เป็นต้น ด้วยภาษาที่เหมาะสมกับบริบทของท้องถิ่น เพื่อการรับรู้ในวงกว้าง การแนะนำการสวมหน้ากากอนามัย แนวปฏิบัติทางศาสนากิจในกลุ่มผู้นำศาสนา ประชาชน มัสยิด เป็นต้น 2.การจัดหาอุปกรณ์ป้องกันโรค เช่น หน้ากากอนามัยสำหรับประชาชน การจัดหาแอลกอฮอล์เจลล้างมือ เครื่องวัดอุณหภูมิแบบยิงหน้าผาก เครื่องมืออุปกรณ์ควบคุมโรค น้ำยาฆ่าเชื้อสำหรับพ่นควบคุมโรค เป็นต้น ชมรม    อีหม่าม ตำบลกะมิยอจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันควบคุมการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
  2. เพื่อให้ประชาชนตระหนักและให้ความสำคัญต่อการป้องกันตนเองจากโควิด-19 ได้
  3. เพื่อให้ดำเนินการละหมาดวันศุกร์ตามแนวทางที่สาธารณสุขได้วางกรอบไว้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม Big Cleaning Day ก่อนและหลังละหมาดวันศุกร์
  2. กิจกรรมตั้งจุดตรวจคัดครองการเข้าออกมัสยิด
  3. กิจกรรมประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในพื้นที่ปลอดจากการเป็นโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  2. ประชาชนเกิดความตระหนักและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากตนเอง
  3. เพื่อกระตุ้นให้แต่ละพื้นที่ตระหนักเห็นความสำคัญ และรวมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ประชาชนในพื้นที่ปลอดจากการเป็นโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  2. ประชาชนเกิดความตระหนักและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากตนเอง
  3. เพื่อกระตุ้นให้แต่ละพื้นที่ตระหนักเห็นความสำคัญ และรวมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันควบคุมการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
ตัวชี้วัด : สามารถควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ได้ระดับหนึ่งเพื่อไม่ให้เกิดความรุนแรงเพิ่มขึ้น
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนตระหนักและให้ความสำคัญต่อการป้องกันตนเองจากโควิด-19 ได้
ตัวชี้วัด : ประชาชนรู้จักป้องกันตนเอง และให้ความร่วมมือในการป้องกันโรคระบาดเป็นอย่างดี
0.00

 

3 เพื่อให้ดำเนินการละหมาดวันศุกร์ตามแนวทางที่สาธารณสุขได้วางกรอบไว้
ตัวชี้วัด : มัสยิดทุกแห่งได้ดำเนินการตามมาตราการการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นไปอย่างเรียบร้อย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันควบคุมการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) (2) เพื่อให้ประชาชนตระหนักและให้ความสำคัญต่อการป้องกันตนเองจากโควิด-19 ได้ (3) เพื่อให้ดำเนินการละหมาดวันศุกร์ตามแนวทางที่สาธารณสุขได้วางกรอบไว้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม Big Cleaning Day  ก่อนและหลังละหมาดวันศุกร์ (2) กิจกรรมตั้งจุดตรวจคัดครองการเข้าออกมัสยิด (3) กิจกรรมประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการการคัดกรองและการป้องกันการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในศาสนสถานพื้นที่ตำบลกะมิยอ

รหัสโครงการ 63-L3009-02-11 รหัสสัญญา 011/2563 ระยะเวลาโครงการ 14 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการการคัดกรองและการป้องกันการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในศาสนสถานพื้นที่ตำบลกะมิยอ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3009-02-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลเลาะ ตาแกะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด