กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล
รหัสโครงการ 2563/L7886/5/2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม. ม.2 ต.เจ๊ะบิลัง
วันที่อนุมัติ 25 มิถุนายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2563 - 30 มิถุนายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 1 กรกฎาคม 2563
งบประมาณ 112,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวรัชดา โกบปุเลา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.687,99.965place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2563 30 มิ.ย. 2563 112,200.00
รวมงบประมาณ 112,200.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนประชาชนได้รับผลกระทบการระบาดของ COVID-19
1.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค COVID-19

ร้อยละ 90 ของประชาชน มีความรู้เรื่องอาการของโรคและการป้องกันโรค COVID-19

1.00
2 . เพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง ลดการติดต่อแพร่ระบาดของโรค

ร้อยละ 90 ของประชาชนมีพฤติกรรมการป้องกันโรคอย่างถูกต้องและเผยแพร่ความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชนได้

1.00 1.00
3 เพื่อเฝ้าระวังสังเกตอาการบุคคลกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากพื้นที่การระบาดของโรค

ร้อยละ 100 ของบุคคลกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามเฝ้าระวังสังเกตอาการที่บ้านครบ 14 วัน

1.00
4 เพื่อให้บุคคลกลุ่มเสี่ยงที่ต้องกักกันเพื่อสังเกตอาการ ณ Local Quarantine ได้รับการเฝ้าระวังสังเกตอาการโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

ร้อยละ 100 ของบุคคลกลุ่มเสี่ยงที่ต้องกักกันเพื่อสังเกตอาการ ณ Local Quarantine ได้รับการเฝ้าระวังสังเกตอาการ ประเมินอาการเบื้องต้น

1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 112,200.00 2 112,200.00
1 - 14 เม.ย. 63 1 กิจกรรมอสม.เคาะประตูบ้านต้านโควิด-๑๙ 0 76,680.00 76,680.00
18 เม.ย. 63 - 30 มิ.ย. 63 ปฏิบัติงาน ณ สถานที่กักกันเพื่อสังเกตการเริ่มป่วย (Local Quarantine) 0 35,520.00 35,520.00

กิจกรรมที่ 1 อสม.เคาะประตูบ้านต้านโควิด-๑๙           1.1 สร้างความรู้ความเข้าใจแก่อสม.เกี่ยวกับสถานการณ์โรค การป้องกันโรค การคัดกรองโรค
          1.2 วางแผนเคาะประตูบ้าน           1.3 แบ่งสายลงพื้นที่ให้ความรู้เรื่องโรค การป้องกันโรค ประชาสัมพันธ์ แนะนำการล้างมือ 7           ขั้นตอนและการสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี 1.4 คัดกรองประชาชนในพื้นที่และเฝ้าระวังติดตามอาการผู้ที่เดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยง กิจกรรมที่ 2 ปฏิบัติงาน ณ สถานที่กักกันเพื่อสังเกตการเริ่มป่วย (Local Quarantine)           2.1 ติดตามเฝ้าระวังสังเกตอาการ ประเมินอาการเบื้องต้น แก่กลุ่มเสี่ยงที่ต้องกักกันเพื่อสังเกต           อาการ ณ Local Quarantine           2.2 ปฏิบัติงาน ณ จุดคัดกรองของชุมชนในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 2.3 สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงาน ให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทราบ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการของโรคและการป้องกันโรค COVID-19 สามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้อย่างถูกต้อง และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชน สร้างความปลอดภัยแก่ประชาชนและเป็นการลดการติดต่อแพร่ระบาดของโรค ลดความตื่นตระหนกของประชาชนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรค       2. บุคคลกลุ่มเสี่ยงที่ต้องกักกันเพื่อสังเกตอาการ ณ Local Quarantine ได้รับการเฝ้าระวังสังเกตอาการ ประเมินอาการเบื้องต้น และมีอสม.ปฏิบัติงาน ณ จุดคัดกรองของชุมชนในการป้องกัน ตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 มิ.ย. 2563 15:15 น.