โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ ฟันสวย ด้วยมือเรา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ ฟันสวย ด้วยมือเรา ”
ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุดา นิยมเดชา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ ฟันสวย ด้วยมือเรา
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5273-1-9 เลขที่ข้อตกลง 13/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ ฟันสวย ด้วยมือเรา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ ฟันสวย ด้วยมือเรา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ ฟันสวย ด้วยมือเรา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5273-1-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กวัยเรียนเป็นวัยที่จำเป็นต้องพัฒนาในทุก ๆ ด้านเพื่อเป็นประชากรที่มีคุณภาพในอนาค โดยเฉพาะการพัฒนาด้านสุขภาพที่เป็นพื้นฐานสำคัญอันจะมีผลต่อการพัฒนาด้านอื่น ๆ ปัญหาด้านทันตสุขภาพเป็นปัยหาสำคัญที่พบมากในนักเรียนประถมศึกษาเมื่อเทียบกับโรคอื่นๆที่ตรวจพบในกลุ่มเดียวกัน มักมีปัญหาสุขภาพช่องปาก จากโรคในช่องปากที่มีการสะสมการดำเนินโรคในชุดฟันน้ำนม ทำให้มีความจำเป็นที่จะต้องได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วน ซึ่งนักเรียนประถมศึกษาอยู่ในช่วงอายุ 6-12 ปี เป็นวัยที่มีฟันแท้ขึ้นใหม่ ลักษณะรูปร่างฟันมีหลุมและร่องฟันลึก ซึ่งทำให้เกิดโรคฟันผุได้ง่ายนอกจากอุปนิสัยของเด็กที่ชอบรับประทานของหวาน ตลอดจนมีข้อจำกัดในเรื่องความสามารถในด้วยตนเอง ล้วนเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคในช่องปากได้ง่ายหากไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ที่เหมาะสมการดูแลช่องปากนอกจากนั้น จำเป็นจะต้องได้ับการป้องกันโรคในระยะแรกเริ่มซึ่งจะส่งผลต่อสุขภาพช่องปากที่ดี ในระยะยาว อีกทั้งพัฒนาการทางร่างกายและสังคมในวัยนี้นับเป็นช่วงที่มีความเหมาะสมในการสร้างทักษะและลักษณะนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากจากผลการสำรวจสภาวะช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 ปี 2560 ด้านสุขภาวะช่องปากพบว่านความชุกของโรคฟันผุในเด็กอายุ 12 ปี ร้อยละ 52 และพบว่าในการสำรวจครั้งนี้เด็กอายุ 12 ปี มีสภาวะเหงือกอักเสบสูงกว่าการสำรวจในครั้งที่ 7 พ.ศ.2555 จากร้อยละ 50.3 เป็นร้อยละ 66.7 และผลจากการตรวจสุขภาพช่องปากนักเียนตามระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพในโรงเเรียนประถมศึกษาในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.ฉลุง ปีการศึกษา 2562 พบว่าเด็กอายุ 12 ปี มีค่าฟันผุในแท้เพิ่มขึ้น พบหินทำลายบริเวณฟันหน้าล่าง ซึ่งเป็นผลมาจากการแปรงฟันไม่สะอาด และถึงแม้เด็กนักเรียนมีกิจกรรมแปรงฟันทุกโรงเียน ชี้ให้เห็นว่าทักษะการดูแลช่องปากของเด็กในเขตรับผิดชอบยังมีประสิทธิภาพไม่ดีเท่าที่ควร ดังน้้น รพ.สต.ฉลุง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมทั่นตสุขภาพขึ้น อันจะทำให้นักเเรียนในโรงเรียนมีุสขภาพช่องปากที่ดีขึ้น และสามารถดูแลช่องปากของตนเองได้ ซึ่งจะผลระยะยาวต่อสุขภาพช่องปากในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อ 1.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านฉลุง และโรงเรียนเจริญศึกษา ได้รับความรู้ด้านทันตสุขภาพ
- ข้อ 2.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านฉลุง และโรงเรียนเจริญศึกษา สามารถแปรงฟันได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
- ข้อ 3.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านฉลุง และโรงเรียนเจริญศึกษา ได้รับการตรวจช่องปาก
- ข้อ 4.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 ได้รับการรักษาทางด้านทันตกรรม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.กิจกรรมอบรมทันตสุขศึกษา
- 2.จัดฝึกทักษะการแปรงฟัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
160
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากตามระบบเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง
2.นักเรียนมีความรู้และสามารถนำความรู้ด้านทันสุขภาพได้ถูกวิธี
3.นักเรียนได้รับบริการทันตกรรมอย่างครอบคลุม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1.กิจกรรมอบรมทันตสุขศึกษา
วันที่ 18 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
มีการจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคในช่องปากที่ควรรู้ และฝึกปฏิบัติอบรมทักษะการแปรงฟัน และการฝึกทักษะการแปรงฟันโดยใช้เม็ดสีย้อมฟัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 รร.บ้านฉลุงและ รร.เจริญศึกษา ได้เข้าร่วมกิจกรรมความรู้ทันตสุขภาพ ได้ร้อยละ 100 เด็กนักเรียนแปรงฟันได้ดีและมีประสิทธิภาพมากขึ้นร้อยละ 60 และกลุ่มเป้าหมายนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 168 คน ได้รับการตรวจช่องปากร้อยละ 100
160
0
2. 2.จัดฝึกทักษะการแปรงฟัน
วันที่ 18 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
มีการทดสอบการแปรงฟัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กนักเรียนได้มีการทดสอบการแปรงฟัน และมีผลคือ พบปัญหาสุขภาพช่องปากนักเรียน
160
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อ 1.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านฉลุง และโรงเรียนเจริญศึกษา ได้รับความรู้ด้านทันตสุขภาพ
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านฉลุงและโรงเรียนเจริญศึกษา ได้เข้าร่วมกิจกรรมความรู้ทันตสุขภาพ ร้อยละ 80
0.00
2
ข้อ 2.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านฉลุง และโรงเรียนเจริญศึกษา สามารถแปรงฟันได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนแปรงฟันได้ดีและมีประสิทธิภาพมากขึ้นร้อยละ 60 (ผลการย้อมสีฟันเปรียบเทียบก่อนแปรงและหลังแปรงฟัน)
0.00
3
ข้อ 3.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านฉลุง และโรงเรียนเจริญศึกษา ได้รับการตรวจช่องปาก
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 ได้รับการตรวจช่องปากร้อยละ 80
0.00
4
ข้อ 4.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 ได้รับการรักษาทางด้านทันตกรรม
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 ได้รับการรักษาทางด้านทันตกรรม
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
160
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
160
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านฉลุง และโรงเรียนเจริญศึกษา ได้รับความรู้ด้านทันตสุขภาพ (2) ข้อ 2.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านฉลุง และโรงเรียนเจริญศึกษา สามารถแปรงฟันได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น (3) ข้อ 3.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านฉลุง และโรงเรียนเจริญศึกษา ได้รับการตรวจช่องปาก (4) ข้อ 4.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 ได้รับการรักษาทางด้านทันตกรรม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมทันตสุขศึกษา (2) 2.จัดฝึกทักษะการแปรงฟัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ ฟันสวย ด้วยมือเรา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5273-1-9
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุดา นิยมเดชา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ ฟันสวย ด้วยมือเรา ”
ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุดา นิยมเดชา
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5273-1-9 เลขที่ข้อตกลง 13/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ ฟันสวย ด้วยมือเรา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ ฟันสวย ด้วยมือเรา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ ฟันสวย ด้วยมือเรา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5273-1-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กวัยเรียนเป็นวัยที่จำเป็นต้องพัฒนาในทุก ๆ ด้านเพื่อเป็นประชากรที่มีคุณภาพในอนาค โดยเฉพาะการพัฒนาด้านสุขภาพที่เป็นพื้นฐานสำคัญอันจะมีผลต่อการพัฒนาด้านอื่น ๆ ปัญหาด้านทันตสุขภาพเป็นปัยหาสำคัญที่พบมากในนักเรียนประถมศึกษาเมื่อเทียบกับโรคอื่นๆที่ตรวจพบในกลุ่มเดียวกัน มักมีปัญหาสุขภาพช่องปาก จากโรคในช่องปากที่มีการสะสมการดำเนินโรคในชุดฟันน้ำนม ทำให้มีความจำเป็นที่จะต้องได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วน ซึ่งนักเรียนประถมศึกษาอยู่ในช่วงอายุ 6-12 ปี เป็นวัยที่มีฟันแท้ขึ้นใหม่ ลักษณะรูปร่างฟันมีหลุมและร่องฟันลึก ซึ่งทำให้เกิดโรคฟันผุได้ง่ายนอกจากอุปนิสัยของเด็กที่ชอบรับประทานของหวาน ตลอดจนมีข้อจำกัดในเรื่องความสามารถในด้วยตนเอง ล้วนเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคในช่องปากได้ง่ายหากไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ที่เหมาะสมการดูแลช่องปากนอกจากนั้น จำเป็นจะต้องได้ับการป้องกันโรคในระยะแรกเริ่มซึ่งจะส่งผลต่อสุขภาพช่องปากที่ดี ในระยะยาว อีกทั้งพัฒนาการทางร่างกายและสังคมในวัยนี้นับเป็นช่วงที่มีความเหมาะสมในการสร้างทักษะและลักษณะนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากจากผลการสำรวจสภาวะช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 ปี 2560 ด้านสุขภาวะช่องปากพบว่านความชุกของโรคฟันผุในเด็กอายุ 12 ปี ร้อยละ 52 และพบว่าในการสำรวจครั้งนี้เด็กอายุ 12 ปี มีสภาวะเหงือกอักเสบสูงกว่าการสำรวจในครั้งที่ 7 พ.ศ.2555 จากร้อยละ 50.3 เป็นร้อยละ 66.7 และผลจากการตรวจสุขภาพช่องปากนักเียนตามระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพในโรงเเรียนประถมศึกษาในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.ฉลุง ปีการศึกษา 2562 พบว่าเด็กอายุ 12 ปี มีค่าฟันผุในแท้เพิ่มขึ้น พบหินทำลายบริเวณฟันหน้าล่าง ซึ่งเป็นผลมาจากการแปรงฟันไม่สะอาด และถึงแม้เด็กนักเรียนมีกิจกรรมแปรงฟันทุกโรงเียน ชี้ให้เห็นว่าทักษะการดูแลช่องปากของเด็กในเขตรับผิดชอบยังมีประสิทธิภาพไม่ดีเท่าที่ควร ดังน้้น รพ.สต.ฉลุง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมทั่นตสุขภาพขึ้น อันจะทำให้นักเเรียนในโรงเรียนมีุสขภาพช่องปากที่ดีขึ้น และสามารถดูแลช่องปากของตนเองได้ ซึ่งจะผลระยะยาวต่อสุขภาพช่องปากในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อ 1.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านฉลุง และโรงเรียนเจริญศึกษา ได้รับความรู้ด้านทันตสุขภาพ
- ข้อ 2.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านฉลุง และโรงเรียนเจริญศึกษา สามารถแปรงฟันได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
- ข้อ 3.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านฉลุง และโรงเรียนเจริญศึกษา ได้รับการตรวจช่องปาก
- ข้อ 4.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 ได้รับการรักษาทางด้านทันตกรรม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.กิจกรรมอบรมทันตสุขศึกษา
- 2.จัดฝึกทักษะการแปรงฟัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 160 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากตามระบบเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง 2.นักเรียนมีความรู้และสามารถนำความรู้ด้านทันสุขภาพได้ถูกวิธี 3.นักเรียนได้รับบริการทันตกรรมอย่างครอบคลุม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1.กิจกรรมอบรมทันตสุขศึกษา |
||
วันที่ 18 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำมีการจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคในช่องปากที่ควรรู้ และฝึกปฏิบัติอบรมทักษะการแปรงฟัน และการฝึกทักษะการแปรงฟันโดยใช้เม็ดสีย้อมฟัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 รร.บ้านฉลุงและ รร.เจริญศึกษา ได้เข้าร่วมกิจกรรมความรู้ทันตสุขภาพ ได้ร้อยละ 100 เด็กนักเรียนแปรงฟันได้ดีและมีประสิทธิภาพมากขึ้นร้อยละ 60 และกลุ่มเป้าหมายนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 168 คน ได้รับการตรวจช่องปากร้อยละ 100
|
160 | 0 |
2. 2.จัดฝึกทักษะการแปรงฟัน |
||
วันที่ 18 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำมีการทดสอบการแปรงฟัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเด็กนักเรียนได้มีการทดสอบการแปรงฟัน และมีผลคือ พบปัญหาสุขภาพช่องปากนักเรียน
|
160 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อ 1.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านฉลุง และโรงเรียนเจริญศึกษา ได้รับความรู้ด้านทันตสุขภาพ ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านฉลุงและโรงเรียนเจริญศึกษา ได้เข้าร่วมกิจกรรมความรู้ทันตสุขภาพ ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
2 | ข้อ 2.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านฉลุง และโรงเรียนเจริญศึกษา สามารถแปรงฟันได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนแปรงฟันได้ดีและมีประสิทธิภาพมากขึ้นร้อยละ 60 (ผลการย้อมสีฟันเปรียบเทียบก่อนแปรงและหลังแปรงฟัน) |
0.00 |
|
||
3 | ข้อ 3.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านฉลุง และโรงเรียนเจริญศึกษา ได้รับการตรวจช่องปาก ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 ได้รับการตรวจช่องปากร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
4 | ข้อ 4.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 ได้รับการรักษาทางด้านทันตกรรม ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 ได้รับการรักษาทางด้านทันตกรรม |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 160 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 160 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านฉลุง และโรงเรียนเจริญศึกษา ได้รับความรู้ด้านทันตสุขภาพ (2) ข้อ 2.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านฉลุง และโรงเรียนเจริญศึกษา สามารถแปรงฟันได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น (3) ข้อ 3.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านฉลุง และโรงเรียนเจริญศึกษา ได้รับการตรวจช่องปาก (4) ข้อ 4.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 ได้รับการรักษาทางด้านทันตกรรม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมทันตสุขศึกษา (2) 2.จัดฝึกทักษะการแปรงฟัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ ฟันสวย ด้วยมือเรา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5273-1-9
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุดา นิยมเดชา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......