กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ อสม.น้อยและผู้ปกครองร่วมมือกันป้องกันโรคติดต่อที่พบบ่อยในชุมชน
รหัสโครงการ 63-L5295-1-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านทุ่งดินลุ่ม
วันที่อนุมัติ 2 มิถุนายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 5 ตุลาคม 2563
งบประมาณ 6,640.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสะบัน สำนักพงศ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 7.048,99.817place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)
9.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์โรคติดต่อที่พบบ่อยในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งดินลุ่ม ปี พ.ศ.2562 ใน 10 อันดับแรก พบโรคอุจจาระร่วง จำนวน 44 คน คิดเป็น 2,073.51 /แสนปชก.,ไข้หวัดใหญ่ 16 คน คิดเป็น 754 /แสนปชก.,มือเท้าปาก 9 คน คิดเป็น 424.12 /แสนปชก.,อาหารเป็นพิษ 4 คน คิดเป็น 188.50 /แสนปชก.,ตาแดง 4 คน คิดเป็น 188.50 /แสนปชก.,ปอดอักเสบ 3 คน คิดเป็น 141.37/แสนปชก., ไข้เลือดออก 2 ราย คิดเป็น 94.25/แสนปชก.
    จากสถานการณ์ดังกล่าวทางรพ.สต.บ้านทุ่งดินลุ่ม เล็งเห็นความสำคัญในการแก้ไขปัญหาโดยเริ่มที่นักเรียนและผู้ปกครองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อให้โรคติดต่อดังกล่าวมีจำนวนที่ลดลง และกลุ่มเป้าหมายสามารถดูแลตัวเองได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด

การแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)

9.00 0.00
2 เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคติดต่อได้ถูกต้อง

ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคติดต่อ

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 200 6,640.00 2 6,640.00
15 มิ.ย. 63 - 30 ก.ย. 63 1.อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคติดต่อที่พบบ่อยในโรงเรียนในกลุ่มนักเรียน 100 3,320.00 3,320.00
15 มิ.ย. 63 - 30 ก.ย. 63 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคติดต่อที่พบบ่อยในโรงเรียนและโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในกลุ่มผู้ปกครอง 100 3,320.00 3,320.00

ขั้นตอนการวางแผน 1.จัดทำโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ 2.ชี้แจงโครงการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง 3.จัดตั้งคณะกรรมการ 4.ประชาสัมพันธ์โครงการ 5.ดำเนินกิจกรรมตามแผน 6. ประเมินผลโครงการ ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.ประสานความร่วมมือจาก อสม. ผู้นำชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน 2.อบรมพัฒนาองค์ความรู้ กลุ่มนักเรียนและผู้ปกครอง เกี่ยวกับโรคติดต่อที่พบบ่อย 3. สรุป ประเมินผลเพื่อถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประเด็นปัญหาการวิเคราะห์  การคืนข้อมูลให้ภาคีเครือข่าย และการวางแผนการพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคติดต่อ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบบ่อยในชุมชน
  2. นักเรียนและผู้ปกครองสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคติดต่อได้ถูกต้อง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 มิ.ย. 2563 10:37 น.