กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน


“ โครงการการจัดการขยะในชุมชน ”

ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสุภาภรณ์ นวลจันทร์

ชื่อโครงการ โครงการการจัดการขยะในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5295-2-01 เลขที่ข้อตกลง 11/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการจัดการขยะในชุมชน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการจัดการขยะในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ (2) เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน (3) ประชาชนมีความรู้ จิตสำนึกที่ดี ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการคัดแยกขยะในครัวเรือน (4) เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการ คัดแยกขยะในครัวเรือน (2) 2. กิจกรรมการคัดแยกขยะใน ครัวเรือน (3) 3. กิจกรรมBig Cleaning Day (4) 5. กิจกรรมการประกวด ครัวเรือนต้นแบบการคัดแยกขยะในครัวเรือน “ครัวเรือนต้นแบบการคัดแยกขยะและมีเงินออมจากการนำขยะไปขายในธนาคารขยะประจำหมู่บ้าน” (5) จัดตั้งธนาคารขยะในชุมชน หมู่ที่ 6 บ้านทุ่งขมิ้น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...ควรมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นับตั้งแต่อดีตมาสู่ปัจจุบัน ปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสำคัญที่อยู่คู่กับสังคมไทยมายาวนานและ นับวันยิ่งมีแนวโน้มทวีความรุนแรงมากขึ้น สาเหตุเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอยทุกปีตามอัตราการ เพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการอุปโภคบริโภคของ ประชาชน ในขณะเดียวกันปริมาณขยะมูลฝอยที่ได้รับการจัดการอย่างถูกต้องเพิ่มขึ้นในอัตราที่ต่ำ แม้ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ทั้งการจัดเก็บ เคลื่อนย้าย รวมทั้งการกำจัด ถึงแม้จะมีการบริหารจัดการการจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่อย่างต่อเนื่องขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก็ตาม ก็ยังพบว่าขยะมีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการคัดแยกขยะจากครัวเรือนต้นทางยังไม่มีประสิทธิภาพ ขาดการดำเนินการที่ต่อเนื่อง มีการทำตามกระแสเป็นระยะ
    ชุมชนหมู่ที่ 6 บ้านทุ่งขมิ้น จึงเล็งเห็นความสำคัญของการบริหารจัดการขยะอย่างจริงจัง โดยเน้นการจัดการตนเองในระดับครัวเรือน รณรงค์การคัดแยกขยะที่ต้นทาง การนำขยะมาใช้ประโยชน์ เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย ชุมชนมีความสะอาด ปราศจากโรคภัย สิ่งแวดล้อมน่าอยู่ น่ามอง ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ
  2. เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน
  3. ประชาชนมีความรู้ จิตสำนึกที่ดี ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการคัดแยกขยะในครัวเรือน
  4. เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการ คัดแยกขยะในครัวเรือน
  2. 2. กิจกรรมการคัดแยกขยะใน ครัวเรือน
  3. 3. กิจกรรมBig Cleaning Day
  4. 5. กิจกรรมการประกวด ครัวเรือนต้นแบบการคัดแยกขยะในครัวเรือน “ครัวเรือนต้นแบบการคัดแยกขยะและมีเงินออมจากการนำขยะไปขายในธนาคารขยะประจำหมู่บ้าน”
  5. จัดตั้งธนาคารขยะในชุมชน หมู่ที่ 6 บ้านทุ่งขมิ้น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 182
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ จิตสำนึกที่ดี ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการคัดแยกขยะในครัวเรือน
  2. มีการคัดแยกขยะในครัวเรือน มากกว่าร้อยละ 80 ของครัวเรือนในชุมชนหมู่ที่ 6
  3. ปริมาณขยะในในชุมชนลดลงอย่างต่อเนื่อง
  4. รายได้จากการดำเนินงานธนาคารขยะในชุมชนนำมาเป็นกองทุนสนับสนุนการศึกษาของเยาวชนในหมู่บ้าน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการ คัดแยกขยะในครัวเรือน

วันที่ 12 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ การคัดแยกขยะพร้มสาธิตการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 183 คน

 

182 0

2. 2. กิจกรรมการคัดแยกขยะใน ครัวเรือน

วันที่ 21 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

เดินรณรงค์การคัดแยกขยะในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมจำนวน 75 คน

 

54 0

3. 3. กิจกรรมBig Cleaning Day

วันที่ 28 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ร่วมทำความสะอาดในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกครัวเรือน
มีการทำความสะอาดหน้าบ้านตนเอง

 

50 0

4. 5. กิจกรรมการประกวด ครัวเรือนต้นแบบการคัดแยกขยะในครัวเรือน “ครัวเรือนต้นแบบการคัดแยกขยะและมีเงินออมจากการนำขยะไปขายในธนาคารขยะประจำหมู่บ้าน”

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประกวดครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะอย่างต่อเนื่อง มีเงินออมจากการขายขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประกวดครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะอย่างต่อเนื่อง มีเงินออมจากการขายขยะ จำนวน 3 ครัวเรือน

 

182 0

5. จัดตั้งธนาคารขยะในชุมชน หมู่ที่ 6 บ้านทุ่งขมิ้น

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงาน และแต่งตั้ง ดำเนินงานธนาคารขยะชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดตั้งธนาคารขยะชุมชน จำนวน 1 แห่ง มีคณะทำงานประจำธนาคาร

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. กิจกรรมจัดอบรมใหเความรู้เรื่องการคัดแยกขยะในครัวเรือน   - ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและคัดแยกขยะในครัวเรือนเพิ่มขึ้นร้อยละ 85
        - มีผู้เข้าร่วมอบรมความรู้ จำนวน 182 ครัวเรือน
  2. กิจกรรมการคัดแยกขยะในครัวเรือน
      - มีปริมาณขยะในชุมชนหมู่ที่ 6 ลดลงมากกว่าร้อยละ 60 สามารถเก็บขยะจากการคัดแยกในชุมชนได 1,300 กิโลกรัม
  3. กิจกรรมBig Cleaning Day
  4. จัดตั้งะนาคารขยะในชุมชนหมุ่ที่ 6 บ้านทุ่งขมิ้น
  5. ประกวดครัวเรือนต้นแบบการคัดแยกขยะ

- มีครัวเรือนต้นแบบในการคัดแยกขยะและเก็บเงินออมจากการขายขยะ จำนวน 3 ครัวเรือน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
50.00 182.00 182.00

 

2 เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)
820.00 500.00 410.00

ขยะในหมู่ที่ 6 ปริมาณ 410 กิโลกรัม/วัน

3 ประชาชนมีความรู้ จิตสำนึกที่ดี ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการคัดแยกขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและการคัดแยกขยะในครัวเรือนเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
80.00 85.00

ประชาชนมีความรุ้ ความเข้าใจเพิ่มขึ้นคิดเป้นร้อยละ 85

4 เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ปริมาณขยะในชุมชุมหมู่ที่ 6 ลดลงมากกว่า 50%จากเดิม
50.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 182 182
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 182 182
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ (2) เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน (3) ประชาชนมีความรู้ จิตสำนึกที่ดี ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการคัดแยกขยะในครัวเรือน (4) เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการ คัดแยกขยะในครัวเรือน (2) 2. กิจกรรมการคัดแยกขยะใน ครัวเรือน (3) 3. กิจกรรมBig Cleaning Day (4) 5. กิจกรรมการประกวด ครัวเรือนต้นแบบการคัดแยกขยะในครัวเรือน “ครัวเรือนต้นแบบการคัดแยกขยะและมีเงินออมจากการนำขยะไปขายในธนาคารขยะประจำหมู่บ้าน” (5) จัดตั้งธนาคารขยะในชุมชน หมู่ที่ 6 บ้านทุ่งขมิ้น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...ควรมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการจัดการขยะในชุมชน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5295-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุภาภรณ์ นวลจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด