กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน


“ ดูแลและป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน ”

ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางมยุรี ดีนนุ้ย

ชื่อโครงการ ดูแลและป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5295-2-05 เลขที่ข้อตกลง 15/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"ดูแลและป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ดูแลและป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมสุขภาพ ในการควบคุม ป้องกัน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) เพื่อลดจำนวนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยในการเกิดโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง (3) เพื่อสร้างแกนนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้รับความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมติดตามเยี่ยมและกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วย (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการดูแลตนเองของผู้ป่วย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...-

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากปัจจัยต่างๆทั้งที่ควบคุมไม่ได้ เช่นกรรมพันธุ์ อายุ และปัจจัยที่ควบคุมได้ เช่น ความอ้วน ขาดการออกกำลังกาย การบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม การดื่มสุรา สูบบุหรี่ ซึ่งหากถ้าประชาชนมรพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่ไม่เหมาะสม ย่อมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวแล้วจำเป็นต้องกินยาตลอดชีวิต หรือถ้าหากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ก็มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาได้   จากผลการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปในหมูที่ 3 บ้านทุ่งดินลุ่ม ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ในปีงบประมาณ 2562 จำนวน 50คน     ดังนั้น เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ รวมทั้งสามารถประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชน เพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง กลุ่มอาสาสสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหมู่ที่ 3 บ้านทุ่งดินลุ่ม ได้จัดทำโครงการดูแลและป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมสุขภาพ ในการควบคุม ป้องกัน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อลดจำนวนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยในการเกิดโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อสร้างแกนนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้รับความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมติดตามเยี่ยมและกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วย
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการดูแลตนเองของผู้ป่วย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานแลโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิต เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ
  2. กลุ่มป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน สามารถควบคุมโรคได้ ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน
  3. มีเครือข่ายแกนนำด้านสุขภาพในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมติดตามเยี่ยมและกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วย

วันที่ 28 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.กิจกรรมเยี่ยมบ้านและกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วย 2. กิจกรรมการออกกำลังกาย 3 วัน/สัปดาห์ ตามความต้องการของผู้เข้าร่วมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงมีความรุ้ ความเข้าใจ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ ร้อยละ 100 กลุ่มป่วยมีการปรับเปลีายนพฤติกรรมดีขึ้น
อัตราการเกิดโรคเบาหวาน ความดันไลหิตสูงรายใหม่ลดลง

 

50 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการดูแลตนเองของผู้ป่วย

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการดูแลตนเองของกลุ่มป่วย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยมีความรุ้ความเข้าใจได้ดีขึ้น สามารถปรับปลี่ยนพฤติกรรมได้ ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง
สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตสูง และเบาหวานได้ดี

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. แกนนำได้รับความรุ้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย
  2. ลดจำนวนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยในการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  3. ผู็ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รายใหม่ลดลง และผู้ป่วยที่เป็นอยู่แล้วสามารถคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตได้ดีขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมสุขภาพ ในการควบคุม ป้องกัน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 1.ประชากรกลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วย DM,HT มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ร้อยละ 100 2.ประชากรกลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วย DM,HT มีการปรับ เปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 70
100.00 100.00

 

2 เพื่อลดจำนวนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยในการเกิดโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 1.อัตราผู้ป่วย DM,HT รายใหม่ลดลงร้อยละ 5
5.00 5.00

 

3 เพื่อสร้างแกนนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้รับความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วย
ตัวชี้วัด : .แกนนำ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วย ร้อยละ 100
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมสุขภาพ ในการควบคุม ป้องกัน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) เพื่อลดจำนวนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยในการเกิดโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง (3) เพื่อสร้างแกนนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้รับความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมติดตามเยี่ยมและกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วย (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการดูแลตนเองของผู้ป่วย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...-

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ดูแลและป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5295-2-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมยุรี ดีนนุ้ย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด