กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลก้อ


“ อบรมให้ความรู้เรื่องผลกระทบจากการเผาและปัญหาหมอกควันจากไฟป่า ตำบลก้อ อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน ปีงบประมาณ 2563 ”

อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ อบรมให้ความรู้เรื่องผลกระทบจากการเผาและปัญหาหมอกควันจากไฟป่า ตำบลก้อ อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน จังหวัด ลำพูน

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2563


กิตติกรรมประกาศ

"อบรมให้ความรู้เรื่องผลกระทบจากการเผาและปัญหาหมอกควันจากไฟป่า ตำบลก้อ อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดลำพูน" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลก้อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อบรมให้ความรู้เรื่องผลกระทบจากการเผาและปัญหาหมอกควันจากไฟป่า ตำบลก้อ อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " อบรมให้ความรู้เรื่องผลกระทบจากการเผาและปัญหาหมอกควันจากไฟป่า ตำบลก้อ อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2563 - 28 กุมภาพันธ์ 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,232.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลก้อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โดยทั่วไปช่วงหน้าแล้งหรือหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต มักจะพบว่ามีการเผาตอซัง ฟางข้าวโพด และเศษพืชที่เหลือทิ้งในพื้นที่การเกษตร เพราะเห็นว่าเป็นวิธีการที่สะดวก รวดเร็ว ในการเตรียมพื้นที่เพาะปลูกครั้งต่อไป โดยไม่คำนึงถึงผลเสียหายที่ตามมาทั้งต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม การเผาตอซังจะทำให้ดินเสื่อมโทรม ธาตุอาหารและสิ่งมีชีวิตในดินถูกทำลาย ส่วนการเผานั้นอาจจะมีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันไป แต่จะเผาด้วยเหตุใดก็แล้วแต่ จะส่งผลกระทบต่อดินทั้งสิ้น ทั้งทำลายอินทรีย์ วัตถุและธาตุอาหารในดิน ทำลายโครงสร้างดินที่เหมาะสมต่อการปลูกพืชลงอย่างต่อเนื่องทุกปี เก็บน้ำได้น้อยไม่ทนแล้ง ทำลายแมลงควบคุมศัตรูพืช และจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ในดินทำให้ปริมาณของจุลินทรีย์ลดลง ซึ่งหากระบบนิเวศน์ของดินไม่สมดุลทำให้การแพร่ระบาดของโรคเกิดได้ง่ายขึ้น ก่อให้เกิดเขม่าควันฝุ่นละอองก๊าซพิษส่งผลเสียต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้เกิดการเสียสมดุลของธรรมชาติ และก่อให้เกิดภาวะเรือนกระจกเป็นสาเหตุของการทำให้โลกร้อนและเกิดภาวะฝนแล้ง ฝนทิ้งช่วงมากขึ้น
หากเป็นผลกระทบทางสุขภาพ หมอกควัน ฝุ่นละอองขนาดเล็กในปริมาณที่มากพอ จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงต่างๆ เช่น เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ หญิงตั้งครรภ์ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคปอด หอบหืด โรคภูมิแพ้ เป็นต้น และผู้ต้องทำงานกลางแจ้งทำให้เกิดโรคในหลายระบบตาม กลุ่มโรค ได้แก่ โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบทางเดินหายใจ โรคตาอักเสบ และโรคผิวหนังอักเสบ และจากสถิติผู้ป่วยที่มารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลก้อพบว่ามีผู้ป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจมากที่สุด คิดเป็นอัตราป่วย 35,489.83 ต่อแสนประชากร รองลงมาเป็นโรคระบบกล้ามเนื้อและโครงร่าง คิดเป็นอัตราป่วย 9,242.14 ต่อแสนประชากร น้อยที่สุดคือโรคตาและส่วนประกอบตา คิดเป็นอัตราป่วย 1,811.46 ต่อแสนประชากร จากผลเสียหายที่ตามมาชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำตำบลก้อ จึงเล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องผลกระทบจากการเผาและปัญหาหมอกควันจากไฟป่า ตำบลก้อ อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 เพื่อสร้างความเข้าใจ และตระหนักในผลกระทบที่เกิดขึ้นตามมา ไม่ว่าจะเป็นผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพร่างกาย และก่อให้เกิดความรำคาญใจแก่ผู้พบเห็นและเพื่อลดอัตราการเผาให้น้อยลงกว่าปีก่อนๆ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในผลกระทบจากการเผาและปัญหาหมอกควันจากไฟป่า
  2. เพื่อให้ประชาชนรู้วิธีป้องกันสุขภาพตนเองจาก มลภาวะทางอากาศ และปัญหาหมอกควัน
  3. เพื่อลดอัตราการเผาและประชาชนช่วยสอดส่องดูแลไม่ให้เกิดการเผาในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ลดการเผา
  2. อบรมให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังและป้องกันฝุ่นควัน
  3. สรุปผลและประเมินผลการดำเนินงานดครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ประชาชนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในผลกระทบจากการเผาและปัญหาหมอกควันจากไฟป่า
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในผลกระทบจากการเผาและปัญหาหมอกควันจาก ไฟป่า
80.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนรู้วิธีป้องกันสุขภาพตนเองจาก มลภาวะทางอากาศ และปัญหาหมอกควัน
ตัวชี้วัด :
80.00

 

3 เพื่อลดอัตราการเผาและประชาชนช่วยสอดส่องดูแลไม่ให้เกิดการเผาในชุมชน
ตัวชี้วัด :
5.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในผลกระทบจากการเผาและปัญหาหมอกควันจากไฟป่า (2) เพื่อให้ประชาชนรู้วิธีป้องกันสุขภาพตนเองจาก มลภาวะทางอากาศ และปัญหาหมอกควัน (3) เพื่อลดอัตราการเผาและประชาชนช่วยสอดส่องดูแลไม่ให้เกิดการเผาในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ลดการเผา (2) อบรมให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังและป้องกันฝุ่นควัน (3) สรุปผลและประเมินผลการดำเนินงานดครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อบรมให้ความรู้เรื่องผลกระทบจากการเผาและปัญหาหมอกควันจากไฟป่า ตำบลก้อ อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด ลำพูน

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด