กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลก้อ


“ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ด้วย 3อ 2ส ตำบลก้อ อำเภอลี้ ”

อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ด้วย 3อ 2ส ตำบลก้อ อำเภอลี้

ที่อยู่ อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน จังหวัด ลำพูน

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ด้วย 3อ 2ส ตำบลก้อ อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลก้อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ด้วย 3อ 2ส ตำบลก้อ อำเภอลี้



บทคัดย่อ

โครงการ " ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ด้วย 3อ 2ส ตำบลก้อ อำเภอลี้ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 30 มิถุนายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,232.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลก้อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในแต่ละปีทุกๆ ประเทศได้ใช้จ่ายเงินจำนวนมากมหาศาลเพื่อบำรุงรักษาสุขภาพของประชาชนปรับปรุงส่งเสริมสุขภาพป้องกันอุบัติภัยอันตรายต่างๆรวมทั้งป้องกันโรคติดเชื้อที่ก่อให้เกิดการเจ็บป่วย นับเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของแต่ละบุคคล ปัจจุบันกระแสของการสร้างเสริมสุขภาพกำลังเป็นที่กล่าวถึง เน้นการบริการ “เชิงรุก”หรือ“การสร้างเสริมสุขภาพ”ซึ่งเป็นการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันมิให้เกิดการเจ็บป่วย เนื่องจากที่ผ่านมาพบว่าระบบที่มุ่งการรักษาสุขภาพเป็นระบบที่มีความสิ้นเปลืองต้นทุนค่าใช้จ่ายสูง เกิดผลกระทบทั้งคนไข้และสังคมในส่วนของคนไข้นอกจากจะต้องเสียค่ารักษาพยาบาลแล้วยังต้องสูญเสียรายได้เนื่องจากขาดงานแล้วอาจมีปัญหาสุขภาพจิต ในส่วนของสังคมส่วนรวมต้องแบกรับภาระความเจ็บป่วยเกินความจำเป็นต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดูผู้เจ็บป่วยพิการเสียทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าเสียโอกาสในการนำทรัพยากรไปใช้ในด้านต่างๆเนื่องจากต้องนำมาใช้ในการลงทุนสร้างระบบบริการเพื่อรองรับความเจ็บป่วยการทำให้สุขภาพดีจะทำให้ระบบเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรอรักษาและฟื้นฟูเมื่อสุขภาพเสียแล้วระบบสุขภาพจึงควรมุ่งเน้นที่การ“สร้างสุขภาพ” จากรายงานสรุปผลการดำเนินงานสาธารณสุขประจำปี 2562 พบตำบลก้อ มีจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงสะสมจำนวน 336 ราย คิดเป็น 12,398.52 ต่อ 100,000 ประชากร และมีจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานสะสมจำนวน 98 ราย คิดเป็น 3,616.24 ต่อ 100,000ประชากร (ข้อมูล ณ. กันยายนพ.ศ. 2562) และมีแนวโน้มที่จะมีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ประกอบกับจากการเก็บข้อมูลพฤติกรรม ของประชาชนในกลุ่มเสี่ยงส่วนใหญ่ในเขตตำบลก้อ มีพฤตกรรมที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เช่นการรับประทานอาหาร หวาน มัน เค็ม การไม่ออกกำลังกาย ดื่มสุรา และสูบบุหรี่ เป็นต้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำตำบลก้อ จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค3อ 2ส ขึ้นเพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูง และแกนนำอสม. มีความรู้ที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพของตนเองรวมทั้งประชาชนที่ตนเองต้องดูแลในชุมชนตามที่ได้รับมอบหมายอีกทั้งสามารถลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพจากการเจ็บป่วยจากโรคหรือภาวะเสี่ยงของโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงของ โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. ๒.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับความรู้เรื่องโรค และภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน โรคความดันสูง
  3. ๓.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย ๓ อ. ๒ ส.
  4. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ชี้แจงรายละเอียดการคัดกรองแก่แกนนำ
  2. อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและหรือความดันโลหิตสูง และแกนนำ อสม.
  3. ติดตามและประเมินผลกลุ่มเสี่ยงเดือนละ 1 ครั้งติดต่อกัน 3 เดือน
  4. สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงของ โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ๒.กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับความรู้เรื่องโรค และภาวะแทรกซ้อนของ โรคเบาหวาน โรคความดันสูง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑.เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงของ โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงของ โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
80.00

 

2 ๒.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับความรู้เรื่องโรค และภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน โรคความดันสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีรู้เรื่องโรค และภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน โรคความดันสูงเพิ่มขึ้น
80.00

 

3 ๓.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย ๓ อ. ๒ ส.
ตัวชี้วัด : ร้อยละกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย ๓ อ. ๒ ส.
50.00

 

4 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงแเบาหวานรายใหม่
5.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงของ        โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) ๒.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับความรู้เรื่องโรค และภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน โรคความดันสูง (3) ๓.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย ๓ อ. ๒ ส. (4) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ชี้แจงรายละเอียดการคัดกรองแก่แกนนำ (2) อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและหรือความดันโลหิตสูง และแกนนำ อสม. (3) ติดตามและประเมินผลกลุ่มเสี่ยงเดือนละ 1 ครั้งติดต่อกัน 3 เดือน (4) สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ด้วย 3อ 2ส ตำบลก้อ อำเภอลี้ จังหวัด ลำพูน

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด