กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง


“ รณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและแมว ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายสมศักดิ์เหมรา

ชื่อโครงการ รณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและแมว

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 มีนาคม 2560 ถึง 31 พฤษภาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"รณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและแมว จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
รณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและแมว



บทคัดย่อ

โครงการ " รณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและแมว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 มีนาคม 2560 - 31 พฤษภาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผลจากความร่วมมือรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์มาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2538 โดยกรมปศุสัตว์ร่วมกับกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย สภากาชาดไทย กรุงเทพมหานคร ด้วยการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์ พร้อมกันทั่วประเทศโดยเฉพาะสุนัขจรจัด สัตว์ด้อยโอกาสตามสถานที่สาธารณะและแหล่งชุมชน ทำให้จำนวนผู้เสียชีวิตและสัตว์เป็นโรคพิษสุนัขบ้าลดลงอย่างต่อเนื่องและชัดเจน ปัจจุบันจำนวนผู้เสียชีวิตลดลงเหลือเพียง 5 ราย ต่อปี แต่เนื่องจากการดำเนินโครงการฯ ดังกล่าวยังมีปัญหาหลายประการที่ไม่สามารถควบคุมปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคทั้งในสัตว์และในคนได้ ทำให้อัตราการเกิดโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์ยังมีประมาณ 20% นอกจากนี้องค์การอนามัยโลก (WHO) ร่วมกับองค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ (OIE) มีเป้าหมายร่วมกันดำเนินการกำจัดโรคพิษสุนัขบ้าให้หมดไปจากทวีปเอเชียภายในปี ค.ศ. 2020 (พ.ศ. 2563) ประเทศไทยในฐานะสมาชิกของทั้ง 2 องค์กร ได้เห็นชอบและพร้อมให้การสนับสนุนโครงการดังกล่าว ดังนั้น เทศบาลตำบลกำแพง เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีภาระหน้าที่ต้องเฝ้าระวังและควบคุมโรคที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น จึงได้ร่วมกับสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสตูล จัดทำโครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและแมว ประจำปี 2560 ขึ้น เพื่อให้การควบคุมป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์ดำเนินได้อย่างต่อเนื่องโดยการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์ให้ได้มากกว่า 50% เพื่อลดอัตราการเกิดโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์ และส่งผลให้ลดโอกาสการแพร่เชื้อไวรัสโรคพิษสุนัขบ้าสู่คนต่อไป รวมทั้งเพื่อกระตุ้นการสร้างจิตสำนึกสาธารณะแก่ประชาชนให้มีความรับผิดชอบนำสัตว์เลี้ยงของตนไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า และให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้ามากขึ้น ให้สามารถป้องกันตนเองและสัตว์เลี้ยงจากโรคพิษสุนัขบ้า ส่งเสริมให้ประชาชนเลี้ยงสุนัข รักถูกวิธี เป็นการลดความเสี่ยงของประชาชนจากการถูกสุนัขที่สงสัยหรือเป็นโรคพิษสุนัขบ้ากัดและป้องกันไม่ให้มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคนี้ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สุนัขและแมวได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและมีภูมิคุ้มกันในระดับที่ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าได้
  2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า และให้ความสำคัญในการป้องกันโรคในสัตว์และคน โดยการนำสุนัขไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
  3. เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างเทศบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และชุมชนมีส่วนร่วมในการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและลดความเสี่ยงจากการถูกสุนัขและแมวกัด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. สำรวจสุนัขและแมวในครัวเรือนภายในเขตเทศบาล

    วันที่ 10 เมษายน 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลจำนวนประชากรสัตว์ในเขตเทศบาลตำบลกำแพง โดยมีจำนวน สุนัข 54 ตัว แมว 409 ตัว

     

    2,000 234

    2. ประชาสัมพันธ์โครงการ

    วันที่ 12 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาสัมพันธ์โครงการโดยการจัดทำป้ายไวนิลและข่าวประชาสัมพันธ์ ครอบคลุมทั้ง 8 ชุมชนในเขตเทศบาลตำบลกำแพง

     

    5,000 0

    3. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้า

    วันที่ 25 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า และให้ความสำคัญในการป้องกันโรคในสัตว์และคน โดยการนำสุนัขไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า และมีส่วนร่วมในการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและลดความเสี่ยงจากการถูกสุนัขและแมวกัด

     

    100 100

    4. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

    วันที่ 28 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการดำเนินงานโครงการรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า และฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและแมว ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560  มีประชาชนนำสุนัขและแมวมารับบริการ จำนวน 216 ตัว บริการฉีดวัคซีน สุนัข 48 ตัว แมว 168 ตัว  บริการทำหมัน สุนัข 7 ตัว แมว 38 ตัว

     

    20 15

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    เทศบาลตำบลกำแพง ร่วมกับสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสตูล สำนักงานปศุสัตว์อำเภอละงู ดำเนินการโครงการรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า และฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและแมว ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560  โดยได้ดำเนินการสำรวจจำนวนสุนัขและแมวในเขตเทศบาลตำบลกำแพง รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า และดำเนินการจัดอบรมให้ความรู้ และบริการฉีดวัคซีนและทำหมันให้แก่สุนัขและแมว ในวันที่ 25 เมษายน 2560 ณ วัดอาทรรังสฤษฎิ์ โดยมีประชาชนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 74 คน มีจำนวนสุนัขและแมวมารับบริการ จำนวน 216 ตัว

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้สุนัขและแมวได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและมีภูมิคุ้มกันในระดับที่ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าได้
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า และให้ความสำคัญในการป้องกันโรคในสัตว์และคน โดยการนำสุนัขไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างเทศบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และชุมชนมีส่วนร่วมในการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและลดความเสี่ยงจากการถูกสุนัขและแมวกัด
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สุนัขและแมวได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและมีภูมิคุ้มกันในระดับที่ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าได้ (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า และให้ความสำคัญในการป้องกันโรคในสัตว์และคน โดยการนำสุนัขไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า (3) เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างเทศบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และชุมชนมีส่วนร่วมในการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและลดความเสี่ยงจากการถูกสุนัขและแมวกัด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    รณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและแมว จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสมศักดิ์เหมรา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด