กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ รวมพลัง อสม ร่วมใจ ขจัด โรคภัยเงียบ ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตำบลยาบหัวนา ในปีงบประมาณ 2563
รหัสโครงการ 03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม ตำบลยาบหัวนา อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
วันที่อนุมัติ 13 ธันวาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 45,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ จีรนันท์ ศรีมุงคูณและคณะ
พี่เลี้ยงโครงการ ภิญยา ไปมูลเปี่ยม
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 175 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
30.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
12.00
3 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
5.00
4 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
8.00
5 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
2.00
6 จำนวนผู้ที่ต้องการลด ละ และเลิกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์(คน)
20.00
7 ร้อยละของผู้เลิกบุหรี่ได้สำเร็จ (เลิกติดต่อกันนานเกิน 6 เดือน โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ)
25.00
8 ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
10.00
9 จำนวนจิตอาสาที่สามารถมาช่วยเหลือคนในชุมชนได้
60.00
10 ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 เช่น การล้างมือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างทางสังคม กินร้อน ช้อนส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน ได้ถูกต้อง
70.00
11 ร้อยละของสถานที่ในชุมชน (ตลาด ศาสนสถาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน สนามกีฬา และสถานที่ทำงาน) ที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19
75.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการดำเนินการโครงการ อสม เพื่อนคู่ซี้ ปี 2562 และการคัดกรองสุขภาพประชาชนอายุ 30 ปี ขึ้นไป ในตำบลยาบหัวนา อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ได้รับการคัดกรองสุขภาพ ร้อยละ 91 พบว่า ร้อยละ 32 ประชาชนอยู่ในกลุ่มเสี่ยง โรคความดันโลหิตสูง ร้อย 28 เสี่ยงโรคเบาหวาน จากสาเหตุ ประชาชนทำสวนยางตื่นนอนตีสอง ต้องดื่มกาแฟ บางคนดื่มวันละ 3 ซอง ดื่มเครื่องดื่มชูกำลัง รับประทานผลไม้ที่มีรสหวาน จำนวนมากและบ่อย เพราะหาซื้อง่ายราคาถูก บางคนดื่มสุรา สูบบุหรี่ มีภาวะความเครียด การรับประทานอาหารที่มีความเค็ม ประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงยังขาดการปรับเปลี่ยนพบว่า ผู้ที่ดื่มสุราประจำเสียชีวิต 3 ราย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงเสียชีวิต 3 รายผู้ที่มีความดันโลหิตสูง ส่งต่อไป รพสต.ยาบหัวนา/สสช.ฮากฮาน/รพสต.บ่อหอย พบเป็นผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 9 รายทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชนลดลงและก่อให้เกิดความสูญเสียทรัพยากรเป็นจำนวนมากในแต่ละปีได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือด อัมพาต และโรคมะเร็ง เป็นต้น การค้นหาและการตรวจสุขภาพของประชาชน ที่มุ่งเน้นให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดีสามารถพึ่งพาตนเองทางด้านสุขภาพมากขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่ประชาชนยังไม่ตระหนักถึงการดูแลตนเอง การตรวจสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพราะคิดว่าสุขภาพร่างกายแข็งแรงไม่มีอาการของโรค ที่ถูกต้อง อสม ตำบลยาบหัวนา 7 หมู่บ้าน ประชากร 5,112 คน อสม 98 คน จากสภาพปัญหาและสภาพวิถีชีวิต ที่มีประชาชน 3 เผ่า ในตำบล ชมรม อสม ตำบลยาบหัวนาเล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกการเข้าถึงชุมชน จึงได้จัดทำ โครงการรวมพลัง อสม ร่วมใจ ขจัด โรคภัยเงียบ ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตำบลยาบหัวนา ขึ้น โดยจัดกิจกรรมบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาพการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง การให้คำแนะนำด้านสุขภาพ เพื่อค้นหาความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่สามารถปฏิบัติได้ เป็นการเตรียมความพร้อมการดูแลสุขภาพตั้งแต่ระยะเริ่มแรก อันจะทำให้ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มได้ในระยะยาว

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ที่ต้องการลด ละ และเลิกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

จำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ปัจจุบัน ทั้งดื่มประจำและครั้งคราว ที่ต้องการลด ละ และเลิกดื่ม เพิ่มขึ้นเป็น(คน)

20.00 40.00
2 เพื่อเพิ่มอัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือน โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ

อัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือนโดยไม่กลับไปสูบซ้ำเพิ่มขึ้นเป็น(ร้อยละ)

25.00 35.00
3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

5.00 2.00
4 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

12.00 5.00
5 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) ลดลง

8.00 0.00
6 เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น  เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ลดลง

2.00 0.00
7 เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

ร้อยละของที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

70.00 90.00
8 เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น

ร้อยละของสถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19

75.00 95.00
9 เพื่อเพิ่มจำนวนจิตอาสาที่สามารถช่วยเหลือคนในชุมชน

จำนวนจิตอาสาที่สามารถช่วยเหลือคนในชุมชนเพิ่มขึ้น

60.00 95.00
10 เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19  ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

10.00 85.00
11 เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19  ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

10.00 85.00
12 เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19  ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

10.00 85.00
13 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

30.00 70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
1 2.ทำแผนออกปฏิบัติงานเชิงรุกในการดำเนินคัดกรองสุขภาพโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูงประชาชนอายุ 30ปี ขึ้นไป กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 185 43,800.00 1 19,500.00
1 ก.พ. 63 - 30 เม.ย. 63 ขั้นเตรียมการ1.ประชุมชี้แจงโครงการให้กับ อสม และผู้ส่วนเกี่ยวข้องรับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการ 0 19,500.00 19,500.00
10 ก.ค. 63 อบรมกลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร การจัดการความเครียด การลดการดื่มสุราและการลดเลิกบุหรี่ 185 24,300.00 -
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 1,200.00 0 0.00
1 ก.พ. 63 - 31 ส.ค. 63 3.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข 0 1,200.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในตำบลยาบหัวนา เป็นมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง รายใหม่

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 มิ.ย. 2563 00:00 น.