กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะทิ้งพระ


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกัน โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ”

ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอรุณี สุวรรณพงศ์

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกัน โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)

ที่อยู่ ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5237-05-02 เลขที่ข้อตกลง 5/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกัน โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะทิ้งพระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกัน โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกัน โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5237-05-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 78,260.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะทิ้งพระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่เกิดสถานการณ์กรระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ในประเทศจีน เริ่มจากเมืองอู่ฮั่นและระบาดไปอีกหลายเมืองในประเทศจีน ต่อมาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ได้มีการแพร่ระบาดไปในหลายประเทศทั่วโลก ปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดยังไม่สามารถควบคุมได้ สำหรับประเทศไทยจากการรายงานของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ณ วันที่ 6 พฤษภาคม 2563 พบว่ามีผู้ป่วยสะสม 2,989 ราย เสียชีวิต 55 ราย และรักษาหาย 2,761 ราย สำหรับจังหวัดสงขลา ข้อมูลจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา ณ วันที่ 6 พฤษภาคม 2563 พบว่ามีผู้ป่วยสะสม 123 ราย รักษาหาย 51 ราย สำหรับในอำเภอสทิงพระยังไม่พบผู้ป่วย ทั้งนี้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) นอกจากทำให้ผู้เสียชีวิตจำนวนมากแล้วยังส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมอย่างรุนแรง   ทั้งนี้จึงจำเป็นต้องการป้องกัน เฝ้าระวังโรคไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ไม่มีการระบาดในชุมชนด้วยการดำเนินกิจกรรมต่างๆได้แก่ 1.การให้ความรู้กับประชาชนในการป้องกันโรคดังกล่าว เช่น การออกกำลังกายเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงอยู่เสมอ การหลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังสถานที่เสี่ยง การรักษาความสะอาด การสวมหน้ากากอนามัย 2.การเฝ้าระวังบุคคลที่เดินทางมาจากที่อื่นที่เป็นพื้นที่เสี่ยง ได้แก่ บุคคลที่เดินทางมาจากกรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ ชลบุรี ภูเก็ต ยะลา ปัตตานี เชียงใหม่ 3.การลงพื้นที่คัดกรองประชาชนเชิงรุก 4.การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ป้องกันโรคให้กับกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษ เนื่องจากมีภูมิคุ้มกันน้อยหากเป็นโรคดังกล่าวแล้วจะมีโอกาสเสียชีวิตสูง ได้แก่ ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วยติดเตียง ผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น หอบหืด ความดัน เบาหวาน
  ดังนั้นเพื่อให้ทันต่อเหตุการณ์ การเฝ้าระวังป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดในชุมชน สร้างความมั่นใจให้กับประชาชน กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (หมู่ที่ 1,2,6,7) ตำบลจะทิ้งพระ จึงได้จัดทำโครงการฝ้าระวังป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)ในชุมชน
  2. 2.เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)
  3. 3.เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้ป่วยติดเตียง ผู้ที่มีโรคประจำตัวหรือผู้ที่ไ่มีโรคติดต่อเรื้อรัง และเจ้าหน้าที่ อสม.ผู้ปฏิบัติงาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ในชุมชน 2.ประชาชนมีความรู้และสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้องในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) 3.ชุมชนมีความพร้อมในการเผชิญกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)ในชุมชน
    ตัวชี้วัด : มีการตรวจคัดกรองโรคสำหรับบุคคลภายนอกทุกคนที่เดินทางจากพื้นที่เสี่ยงเข้ามาพักอาศัยในพื้นที่ และเฝ้าระวังป้องกันโรคให้กับผู้ป่วยติดเตียง ผู้ที่มีโรคประจำตัวหรือผู้ที่มีโรคไม่ติดต่อเรื้อรังทุกคน อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
    0.00

     

    2 2.เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตนในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ได้อย่างถูกต้อง อย่างน้อยร้อยละ 90
    0.00

     

    3 3.เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้ป่วยติดเตียง ผู้ที่มีโรคประจำตัวหรือผู้ที่ไ่มีโรคติดต่อเรื้อรัง และเจ้าหน้าที่ อสม.ผู้ปฏิบัติงาน
    ตัวชี้วัด : ระชาชนกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้ป่วยติดเตียง ผู้ที่มีโรคประจำตัวหรือผู้ที่ไ่มีโรคติดต่อเรื้อรัง และเจ้าหน้าที่ อสม.ผู้ปฏิบัติงานมีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด -19) ครบทุกคน
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)ในชุมชน (2) 2.เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) (3) 3.เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้ป่วยติดเตียง ผู้ที่มีโรคประจำตัวหรือผู้ที่ไ่มีโรคติดต่อเรื้อรัง และเจ้าหน้าที่ อสม.ผู้ปฏิบัติงาน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังป้องกัน โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 63-L5237-05-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางอรุณี สุวรรณพงศ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด