กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต


“ โครงการ เฝ้าระวังและควบคุมการระบาดของ COVID-19 ”

ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายปักรูเด็น มิง

ชื่อโครงการ โครงการ เฝ้าระวังและควบคุมการระบาดของ COVID-19

ที่อยู่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2484-5-3 เลขที่ข้อตกลง 23/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ เฝ้าระวังและควบคุมการระบาดของ COVID-19 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ เฝ้าระวังและควบคุมการระบาดของ COVID-19



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ เฝ้าระวังและควบคุมการระบาดของ COVID-19 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2484-5-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,805.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID – 19) มีแนวโน้มการแพร่ระบาดที่เพิ่มมากขึ้น และประเทศไทยอาจเข้าสู่การระบาดในระยะที่ 3 โดยองค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคดังกล่าวเป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยคำแนะนำของคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ จึงได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID – 19) เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ.2563 ได้กำหนดมาตรการเร่งด่วนในการป้องกันวิกฤตการณ์จากโรคดังกล่าว ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0211.3/ว1538 เรื่อง การบริหารจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) ในเขตพื้นที่จังหวัด และหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0211.3/ว1733 เรื่อง มาตรการป้องกัน และลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เข้าสู่หมู่บ้าน/ชุมชน     สำนักจุฬาราชมนตรี ออกมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ว่าด้วยการผ่อนปรนให้ปฏิบัติศาสนกิจ แนวทางการปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ (ญุมอะห์) สำหรับมัสยิด ให้กรรมการอิสลามประจำมัสยิด หรือหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่มาตรวจวัดอุณภูมิก่อนเข้ามัสยิด ให้จัดวางเจลล้างมือแอลกอฮอล์ไว้บริเวณประตูทางเข้ามัสยิด งดใช้บ่อน้ำ (กอเลาะห์) หรืออ่างใหญ่ร่วมกัน ให้ทำความสะอาดพื้นมัสยิดก่อนและหลังการละหมาดวันศุกร์ (ญุมอะห์) ทุกครั้งและไม่เปิดเครื่องปรับอากาศ โดยให้เปิดหน้าต่าง ผ้าม่านเพื่อให้อากาศถ่ายเทได้สะดวกให้จัดเครื่องหมายจุดละหมาดที่สามารถระบุตำแหน่งได้โดยให้เว้นระยะห่างแต่ละจุด 1.50 – 2 เมตร ให้ควบคุมทางเข้าออกมัสยิดและจัดระเบียบระยะห่างขณะเดินเข้าและเดินออกจากมัสยิดหลังเสร็จสิ้นการละหมาดวันศุกร์ (ญุมอะห์) สำหรับผู้เข้าร่วมปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันศุกร์ (ญุมอะห์) ให้อาบน้ำละหมาดจากที่บ้าน ให้ใช้ผ้าปูละหมาด (ผ้าชะญาดะห์) ส่วนตัว โดยนำมาจากบ้าน ให้ล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ที่มัสยิดจัดเตรียมไว้ ให้สวมหน้ากากอนามัยตลอดระยะเวลาของการปฏิบัติศาสนกิจ งดการสลามด้วยการสัมผัสมือ การสวมกอดและการสัมผัสแก้ม โดยให้ยกมือพร้อมกล่าวสลามเท่านั้น เด็กและสตรีให้งดการร่วมละหมาดวันศุกร์ (ญุมอะห์) ที่มัสยิด หากมีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ มีน้ำมูกแม้จะมีอาการไม่มาก ให้งดการไปร่วมละหมาดวันศุกร์ที่มัสยิด     ด้วย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานแจ้งว่า กระทรวงศึกษาธิการได้มีประกาศ เรื่องการเปิดเรียนของสถานศึกษาในสังกัดและในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ สำหรับภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 กำหนดให้เปิดเรียนในวันที่ 1 กรกฎาคม 2563
    เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการที่สำคัญคือ การป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรคโดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด หรือมลภาวะและไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยไอหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย และการล้างมือ ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ที่ทุกคนสามารถเข้าถึงหน้ากากอนามัย และการล้างมือเพื่อป้องกันโรค ไม่เฉพาะโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เท่านั้น รวมถึงโรคระบาดหรือโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
    จึงเห็นควรให้มีการบูรณาการความร่วมมือจัดให้มีการดำเนินการ ดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ ได้แก่ สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก วัดและมัสยิด ต่าง ๆ ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลโฆษิต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองผู้ที่เข้าร่วมปฏิบัติศาสนกิจ ละหมาดญุมอะห์
  2. เพื่อเฝ้าระวังโรคติดต่อภายในหมู่บ้าน/ชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ทรัพยากรงบประมาณเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อคัดกรองผู้ที่เข้าร่วมปฏิบัติศาสนกิจ ละหมาดญุมอะห์
    ตัวชี้วัด : คัดกรองผู้เข้าร่วมปฏิบัติศาสนกิจ ละหมาดญุมอะห์
    0.00

     

    2 เพื่อเฝ้าระวังโรคติดต่อภายในหมู่บ้าน/ชุมชน
    ตัวชี้วัด : เฝ้าระวังโรคติดต่อภายในหมู่บ้าน/ชุมชน
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองผู้ที่เข้าร่วมปฏิบัติศาสนกิจ ละหมาดญุมอะห์ (2) เพื่อเฝ้าระวังโรคติดต่อภายในหมู่บ้าน/ชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ เฝ้าระวังและควบคุมการระบาดของ COVID-19 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 62-L2484-5-3

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายปักรูเด็น มิง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด