กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย กายใจดี ชีวีมีสุข ปีงบประมาณ 2563 ”
อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นายณรงค์ รอดชุม




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย กายใจดี ชีวีมีสุข ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย กายใจดี ชีวีมีสุข ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย กายใจดี ชีวีมีสุข ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย กายใจดี ชีวีมีสุข ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สังคมไทยปัจจุบันเป็นสังคมผู้สูงอายุ ซึ่งผู้สูงอายุ 1 ใน 10 ของผู้สูงอายุไทยอาศัยอยู่คนเดียวอีก1ใน4 อยู่อาศัยตามลำพังกับคู่สมรสความเปราะบางของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นตามอายุที่สูงขึ้นพร้อมกับสุขภาพที่ถดถอย ลดทอนความสามารถในการทำงานมีรายได้และพึ่งพาคนเองจาการเปลี่ยนแปลงทางประชากรและสังคมที่คนอยู่เป็นโสดเพิ่มขึ้นและมีลูกน้อยลง การเกิื้อหนุนจากครอบครัวมีแนวโน้อมลดลงซึ่งเพิ่มความเปราะบางให้กับผู้สูงอายุในอนาคต จากการคาดประมาณประชากรของประเทศไทยปี 2553-2583 ของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ(สคช.) โดยใช้ข้อมูงสำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศง 2553 ของสำนักสถิติแห่งชาติ เป็นฐานในการประมาณ พบว่า ในปี 2583 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป สูงถึง 20.5 ล้านคน หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 32 ของจำนวนประชากรไทยทั้งหมด ดัชนีพฤฒิพลัง (Active Ageing Index) ซึ่งใช้วัดระดับคุณภาพในการดำรงชีวิตของผู้สูงอายุไทย ปี 2560 เท่ากับ 0.685 จัดอยู่ในระดับปานกลางด้านสุขภาพและความมั่นคงมีสถานการณ์ที่ค่อนข้างดีกว่าเมื่อเทียบกับด้านการมีส่วนร่วมและด้านสภาพที่เอื้อต่อการมีพฤฒิพลัง อย่างไรก็ตามปัญหาสุขภาพทั้งทางกายและทางจิตใจ ยังคงเป็นปัจจัยความเปราะบางที่สำคัญหนึ่งของผู้สูงอายุจำนวนมาก ที่พบมากที่สุดคือ ความดันโลหิตสูง อ้วน และข้อเข่าเสื่่อม ตามลำดับ โดยผู้สูงอายุถึงร้อยละ 6 พบว่ามีภาวะซึมเศร้า(สำนักงานสถิติแห่งชาติ,2560)   จากการสำรวจข้อมูลผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่ามะเดื่อในปี 2562 พบว่ามีผู้สูงอายุในพื้นที่ จำนวน 226 คน คิดเป็นร้อยละ 20.48 ของประชากร ผลการประเมินการประกอบกิจวัตรประจำวัน เป็นกลุ่มติดสังคม จำนวน 211 คน ร้อยละ 93.36 เป็นกลุ่มติดบ้าน จำนวน 9 คน ร้อยละ 3.98 เป็นกลุ่มติดเตียง จำนวน 6 คนร้อยละ 2.65 และจากากรสำรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุพบผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคเรื้อรัง จำนวน 103 คน ร้อยละ 45.37 มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม จำนวน 55 คน ร้อยละ 24.23 มีปัญหาด้านสายตา จำนวน 53 คน ร้อยละ 23.35 มีความเสี่ยงต่อภาวะหกล้ม จำนวน 22 คน ร้อยละ 9.69 จากการสำรวจสภาพแวดล้อมบ้านของผู้สูงอายุ พบผู้สูงอายุมีความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมปลอดภัย จำนวน 46 คน ร้อยละ 20.26 และการสำรวจสภาวการณ์พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ พบว่าผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อยละ 30.5 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่ามะเดื่อ ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำ "โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย กายใจดี ชีวีมีสุขปีงบประมาณ 2563 ขึ้นเพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้และสามารถปฏิบัติตัวได้เหมาะสม มีการจัดสภาพแวดล้อมภายในภายนอกบ้านให้ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวชุมชนและภาคีเครือข่าย ซึ่งจะส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีสามารถดำเนินชีวิตที่ดีสามารถดำเนินชีวิตในบั่นปลายกันได้อย่างมีคุณภาพและมีความสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย กายใจดี ชีวีมีสุข ปีงบประมาณ 2563

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุมีความรู้และสามารถปฏิบัติตัวตามหลัก 4 Smart ได้ (1.การออกกำลังกาย 2. การนอน 3. ฝึกทักษะสมอง 4. การรับประทานอาหาร) 2.ผู้สูงอายุได้รับการดูแลที่ดีมีการจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกบ้านให้เหมาะสมต่อผู้สูงอายุให้อยู่อย่างปลอดภัย มีคุณภาพชีวิตที่ดีอยู่กับครอบครัและชุมชนได้อย่างปกติสุข 3.ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและใจที่ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย กายใจดี ชีวีมีสุข ปีงบประมาณ 2563

วันที่ 12 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำโครงการ เสนอขออนุมัติโครงการ 2.ประชุมชี้แจงโครงการ แก่ผู้นำชุมชน,อสม.แกนนำผู้สูงอายุ เพื่อประชาสัมพันธ์โครงการ/คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการประสานวิทยากร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3.จัดทำทะเบียนผู้สูงอายุตามเขต 4.ตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุเบื้องต้นส่งต่อในรายที่ผิดปกติ 5.ประเมินความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อมภายในภายนอกบ้านโดย อสม. 6.อบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ/ผู้ดูแล เกี่ยวกับหลัก 4 Smart (1.การออกกำลังกาย 2.การนอน  3.ฝึกทักษะสมอง  4.การรับประทานอาหาร) สาธิตการทำนวัตกรรม "รองเท้ากันลื่น" จำนวน 80 คน โดยแบ่งเป็น 2 รุ่น รุ่นละ 40 คน รุ่นละ 1 วัน ดังนี้ -รุ่นที่ 1 อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย หมู่ที่ 3 ตำบลท่ามะเดื่อ -รุ่นที่ 2 อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย หมู่ที่ 4 ตำบลท่ามะเดื่อ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้สูงอายุมีความรู้และสามารถปฏิบัติตัวตามหลัก 4 Smart ได้ (1.การออกกำลังกาย 2. การนอน  3.ฝึกทักษะสมอง 4.การรับประทานอาหาร) 2.ผู้สูงอายุได้รับการดูแลที่ดีมีการจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกบ้านให้เหมาะสมต่อผู้สูงอายุให้อยู่ปลอดภัย มีคุณภาพชีวิตที่ดีอยู่กับครอบครัวและชุมชนได้อย่างปกติสุข 3.ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและใจที่ดี

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย กายใจดี ชีวีมีสุข ปีงบประมาณ 2563

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย กายใจดี ชีวีมีสุข ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายณรงค์ รอดชุม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด