กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนวังพญาร่วมใจพัฒนาสิ่งแวดล้อม ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย เฝ้าระวังป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2563
รหัสโครงการ 63-L4165-1-10
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังพญา
วันที่อนุมัติ 26 มีนาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 14 สิงหาคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 15,850.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังพญา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลวังพญา อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.544,101.375place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 88 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยตาย ด้วยโรคไข้เลือดออก

อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ลดลงและไม่มีผู้ป่วยตามยในพื้นที่

58.67
2 2. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ชุมชน และมัสยิด

ไม่มีแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายในโรงเรียน ชุมชน และมัสยิด

100.00
3 3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม

ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม

100.00
4 4. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชน ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

ประชาชนพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชน ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

100.00
5 5. เพื่อกระตุ้นและปลุกจิตสำนึกให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวัง และป้องกันไข้เลือดออก

ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวัง และป้องกันไข้เลือดออก

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 298 15,850.00 2 15,850.00 0.00
21 ส.ค. 63 อบรมให้ความรู้การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก 88 10,600.00 10,600.00 0.00
27 ส.ค. 63 รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และทำลายแหล่งพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ตามสถานที่ 6 ร. 210 5,250.00 5,250.00 0.00
รวมทั้งสิ้น 298 15,850.00 2 15,850.00 0.00
  • เฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออกก่อนการระบาด กิจกรรมที่ 1 แต่งตั้งแกนนำชุมชนการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก กิจกรรมที่ 3 รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย
  • เฝ้าระวังและควบคุมช่วงการระบาดและหลังการระบาด กิจกรรมที่ 4 ควบคุมโรคตามมาตรการ 311 กิจกรรมที่ 5 กำจัดลูกน้ำยุงลายด้วยการใ่สสารเคมีทรายอะเบทในภาชนะที่มีน้ำ กิจกรรมที่ 6 พ่นสารเคมีพื้นที่ระบาดรัศมี 100 เมตร จำนวน 3 ครั้ง ในวันที่ 1,3,7 หลังรับแจ้ง กิจกรรมที่ 7 สำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายทุก 7 วัน
  • ติดตามและประเมินความพึ่งพอใจการดำเนินกิจกรรมโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. มีคณะแกนนำชุมชนในการดำเนินงานโครงการเกิดขึ้น
  2. แกนนำชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น และสามารถดำเนินงานเฝ้าระวังได้อย่างต่อเนื่อง
  3. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายลดลง ค่า HI น้อยกว่า 10 และสถานที่ราชการ ค่า CI เท่ากับ 0
  4. อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
  5. มีนวัตกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นในพื้นที่
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 มิ.ย. 2563 12:47 น.