โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคในชุมชนตำบลท่าเรือ
ชื่อโครงการ | โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคในชุมชนตำบลท่าเรือ |
รหัสโครงการ | 63-L2978-02 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | |
วันที่อนุมัติ | 10 มิถุนายน 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 5 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 75,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลท่าเรือ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.78,101.053place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคติดต่อในชุมชนที่ยังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยตลอดมาอย่างต่อเนื่องและมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น แม้ว่าการควบคุมเป็นแนวทางในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ (ไวรัสโคโรน่าโควิด 19) โรคไข้เลือดออก และดำเนินการมาโดยมาตลอด การระบาดของโรคก็ยังเกิดขึ้น ซึ่งการควบคุมโรคติดต่อในชุมชน จึงมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งในทุกพื้นที่ โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีประวัติของการระบาดของโรคติดต่อ ในชุมชน เพราะเป็นการแก้ปัญหาอย่างถูกจุด พาหะที่สำคัญของการแพร่กระจายเชื้อโรคติดต่อดั่งกล่าว อันจะนำไปสู่การระบาดของโรคที่รุนแรง คือ เชื้อไวรัสและยุงลาย ซึ่งเป็นยุงที่พบได้ทั่วไปทุกพื้นที่และจะพบยุงลายชุกชุมมากในฤดูฝน อันเป็นภาวะการณ์ที่เอื้อต่อการแพร่ขยายพันธุ์ของยุงลาย และเอื้อต่อการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า ในการนี้ทีมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลท่าเรือ/โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นในปีพ.ศ. 2563 เพื่อควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
- ประชุมองค์กรผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข ประชาชนทั่วไป เพื่อทราบปัญหาและเขียน โครงการ
- รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
- ประชาชนในเขตรับผิดชอบมีสุขาภิบาลและสภาพแวดล้อมที่สะอาด ปราศจากแหล่งเพาะพันธุ์ ยุงลาย ส่งผลต่ออัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของชุมชนลดลง และลดอัตราการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 มิ.ย. 2563 11:42 น.