โครงการให้ความรู้เชิงปฏิบัติการความปลอดภัยใส่หมวกกันน็อคสำหรับเด็กปฐมวัยศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ท่าประดู่
ชื่อโครงการ | โครงการให้ความรู้เชิงปฏิบัติการความปลอดภัยใส่หมวกกันน็อคสำหรับเด็กปฐมวัยศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ท่าประดู่ |
รหัสโครงการ | L5199/2563 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ท่าประดู่ |
วันที่อนุมัติ | 24 กุมภาพันธ์ 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 29 มกราคม 2564 |
งบประมาณ | 11,165.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางรัชนุ สุวรรณรัตน์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.681,100.73place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
หลายประเทศทั่วโลกกำลังประสบปัญหาการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ของผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตขณะขับขี่ยานพาหนะสองล้อ เช่น รถจักรยาน และจักรยานยนต์ และการเสียชีวิตและบาดเจ็บสาหัสส่วนใหญ่มาจาก อาการบาดเจ็บที่ศีรษะ ซึ่งหมวกนิรภัยมีประสิทธิภาพในการลดความเสี่ยงที่จะบาดเจ็บที่ ศีรษะและ ลดอาการรุนแรงของอาการบาดเจ็บลงได้ การส่งเสริมให้ผู้ขับขี่ สวมหมวกนิรภัยมากขึ้น จึงเป็นวิธีการสำคัญ ในการเพิ่มความปลอดภัย บนท้องถนน และเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการลดการเสียชีวิตและการบาดเจ็บที่ศีรษะอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุ ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ที่ไม่สวมหมวกนิรภัยมีความเสี่ยงสูงที่จะได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะหรือเสียชีวิตจากการบาดเจ็บประเภทนี้ นอกจากนี้ผู้ขับขี่ที่ไม่สวม หมวกนิรภัยยังเพิ่มภาระให้แก่โรงพยาบาลที่รับตัวเข้ารักษา เป็นภาระแก่บุคคล ครอบครัว (หรือผู้ดูแล) และสังคม หากต้องกลายเป็นคนพิการ
ปัจจุบันอุบัติเหตุทางถนนนับเป็นปัญหาสำคัญของประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ ซึ่งเป็นพาหนะที่จำเป็นและมีบทบาทในการใช้สัญจรไปมาทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ จนทำให้สถิติในการเกิดอุบัติเหตุทางถนนมีจำนวนมากขึ้นทุกๆ ปี สาเหตุเนื่องมาจากผู้ขับขี่ส่วนใหญ่ไม่มีใบอนุญาตขับรถ ทำให้ขาดความรู้ ความเข้าใจ ในการขับขี่รถอย่างถูกต้องปลอดภัยไม่เคารพกฎจราจรรวมถึงขาดจิตสำนึกความปลอดภัยในการสวมใส่หมวกกันน็อคที่ได้มาตรฐาน ทั้งผู้ขับขี่และผู้ซ้อนท้าย
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ท่าประดู่ จึงได้จัดทำโครงการให้ความรู้เชิงปฏิบัติการความปลอดภัยใส่หมวกกันน็อคสำหรับเด็กปฐมวัยศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ท่าประดู่ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันตนเอง เบื้องต้นให้มีความปลอดภัยบนท้องถนนโดยการสวมหมวกนิรภัย
หลายประเทศทั่วโลกกำลังประสบปัญหาการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ของผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตขณะขับขี่ยานพาหนะสองล้อ เช่น รถจักรยาน และจักรยานยนต์ และการเสียชีวิตและบาดเจ็บสาหัสส่วนใหญ่มาจาก อาการบาดเจ็บที่ศีรษะ ซึ่งหมวกนิรภัยมีประสิทธิภาพในการลดความเสี่ยงที่จะบาดเจ็บที่ ศีรษะและ ลดอาการรุนแรงของอาการบาดเจ็บลงได้ การส่งเสริมให้ผู้ขับขี่ สวมหมวกนิรภัยมากขึ้น จึงเป็นวิธีการสำคัญ ในการเพิ่มความปลอดภัย บนท้องถนน และเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการลดการเสียชีวิตและการบาดเจ็บที่ศีรษะอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุ ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ที่ไม่สวมหมวกนิรภัยมีความเสี่ยงสูงที่จะได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะหรือเสียชีวิตจากการบาดเจ็บประเภทนี้ นอกจากนี้ผู้ขับขี่ที่ไม่สวม หมวกนิรภัยยังเพิ่มภาระให้แก่โรงพยาบาลที่รับตัวเข้ารักษา เป็นภาระแก่บุคคล ครอบครัว (หรือผู้ดูแล) และสังคม หากต้องกลายเป็นคนพิการ
ปัจจุบันอุบัติเหตุทางถนนนับเป็นปัญหาสำคัญของประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ ซึ่งเป็นพาหนะที่จำเป็นและมีบทบาทในการใช้สัญจรไปมาทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ จนทำให้สถิติในการเกิดอุบัติเหตุทางถนนมีจำนวนมากขึ้นทุกๆ ปี สาเหตุเนื่องมาจากผู้ขับขี่ส่วนใหญ่ไม่มีใบอนุญาตขับรถ ทำให้ขาดความรู้ ความเข้าใจ ในการขับขี่รถอย่างถูกต้องปลอดภัยไม่เคารพกฎจราจรรวมถึงขาดจิตสำนึกความปลอดภัยในการสวมใส่หมวกกันน็อคที่ได้มาตรฐาน ทั้งผู้ขับขี่และผู้ซ้อนท้าย
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ท่าประดู่ จึงได้จัดทำโครงการให้ความรู้เชิงปฏิบัติการความปลอดภัยใส่หมวกกันน็อคสำหรับเด็กปฐมวัยศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ท่าประดู่ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันตนเอง เบื้องต้นให้มีความปลอดภัยบนท้องถนนโดยการสวมหมวกนิรภัย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 2.ประชุมครูเพื่อวางแผนการจัดทำโครงการ 3.ประสานงานกับ เจ้าหน้าที่ด้านการจราจร สถานที่ ตามวันเวลาที่ออกดำเนินการ 4.จัดกิจกรรมการฝึกอบรมตามโครงการให้ความรู้เชิงปฏิบัติการความปลอดภัยใส่หมวกกันน็อค สำหรับเด็กปฐมวัยศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ท่าประดู่ 5.สรุปผลการฝึกอบรม 6.รายงานผลการดำเนินโครงการ
กลุ่มเด็กเล็กและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ท่าประดู่เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ความเข้าใจประโยชน์ของการสวมหมวกกันน็อค
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 มิ.ย. 2563 11:49 น.