กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในเขตเทศบาลเมืองกันตัง ปี 2563 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางนุชรี หยังหลัง

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในเขตเทศบาลเมืองกันตัง ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L6895-01-19 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในเขตเทศบาลเมืองกันตัง ปี 2563 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในเขตเทศบาลเมืองกันตัง ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในเขตเทศบาลเมืองกันตัง ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L6895-01-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จาก นโยบายและยุทธศาสตร์ สำหรับพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยตามช่วงวัย ในแผนพัฒนาเด็กและเยาวชน แห่งชาติ ฉบับที่ 2  พ.ศ.2560 – 2564 ประกอบกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  ฉบับที่ 12    พ.ศ. 2560–2564 ได้กำหนดยุทธศาสตร์การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ มีวัตถุประสงค์ที่จะส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีการพัฒนาทักษะทางสมอง ทักษะการคิดวิเคราะห์ และทักษะสังคมที่เหมาะสม ลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ พร้อมทั้งผลักดันให้สถาบันทางสังคมมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศอย่างเข้มแข็ง กระทรวงสาธารณสุข    ได้ดำเนินงาน โดยบูรณาการร่วมกับกระทรวงที่เกี่ยวข้อง จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 เพื่อเน้นการ เฝ้าระวัง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ตั้งแต่แรกเกิด - 5 ปี โดยใช้คู่มือ DSPM ในการประเมิน เฝ้าระวัง ฝึกทักษะและส่งเสริมพัฒนาการเด็ดปฐมวัย เด็กปฐมวัย เป็นวัยแห่งการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว จากบิดา มารดา คนรอบข้าง ผ่านประสาทสัมผัส  ทั้ง 5 ด้าน คือ ด้านการเคลื่อนไหว ด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา ด้านการเข้าใจภาษาด้านการใช้ภาษา และด้านการช่วยเหลือตนเองและสังคม หากเด็กได้รับการส่งเสริมพัฒนาการที่สมวัยซึ่งเป็นรากฐานที่ดี  เด็กปฐมวัยจะได้เจริญเติบโตเต็มศักยภาพในช่วงอายุนี้ จะเป็นรากฐานที่ดีที่จะให้เติบโตเป็นเยาวชนและพลเมืองที่มีคุณภาพ ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในเขตเทศบาลเมืองกันตัง ปี 2563 ขึ้น เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้แกนนำสุขภาพในชุมชน พ่อแม่ ผู้ปกครองมีความรอบรู้ในการส่งเสริมพัฒนาการ โดยใช้คู่มือการเฝ้าระวังและ ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (DSPM) สามารถประเมิน เฝ้าระวัง และส่งเสริมพัฒนาการลูกได้ ซึ่งจะส่งผลให้เด็กไทยมีพัฒนาการสมวัยในทุก ๆ ด้าน พร้อมเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 6 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย
  2. เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 6 ปี ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการส่งต่อรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติ
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพในชุมชน ให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก 0 - 6 ปี และสามารถดำเนินการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
  2. กิจกรรมตรวจพัฒนาการเด็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 365
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 105
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กปฐมวัยทุกคน ได้รับการเฝ้าระวังตรวจประเมินพัฒนาการตามช่วงอายุ
  2. เด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัยได้รับการตรวจคัดกรองและแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 13 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อบรมเชิงปฏิบัติการแก่แกนนำสุขภาพชุมชน  ให้ความรู้/ฝึกทักษะการตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก ในวันที่  13  กรกฎาคม  2563  เวลา 08.30-16.30 น. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพในชุมชน ให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก 0-6 ปี และสามารถดำเนินการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กในพื้นที่ โดย ทีมวิทยากรจาก โรงพยาบาลกันตัง และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง  พร้อมทั้งประเมิน/ทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรม  โดยประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรมก่อนและหลังการอบรม  จำนวน 10 ข้อ ผลการประเมินความรู้  ดังนี้ -ก่อนการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมได้คะแนนเฉลี่ย 6.32
- หลังการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 9.28

 

105 0

2. กิจกรรมตรวจพัฒนาการเด็ก

วันที่ 15 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจพัฒนาการเด็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำสุขภาพชุมชน ร่วมกับ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข  ตรวจประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย  โดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย DSPM (Developmental Surveillance & Promotion Manual)  ในกลุ่มเป้าหมาย 5 กลุ่มวัย  อายุครบ 9 เดือน, 18 เดือน, 30 เดือน, 42 เดือน และ 60 เดือนพร้อมให้คำแนะนำพ่อแม่หรือผู้ปกครองในการฝึกกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก  เดือนละ 1 ครั้ง (เดือนตุลาคม 2562-สิงหาคม 2563)  รวมจำนวน 360 พบเด็กมีพัฒนาการที่สงสัยล่าช้า จำนวน  93 คน  แนะนำผู้ปกครองกระตุ้นพัฒนาการ และตรวจประเมินซ้ำ 1 เดือน พบว่า เด็กมีพัฒนาการปกติ จำนวน  90 คน  และยังมีพัฒนาการล่าช้า จำนวน  3  คน ส่งต่อโรงพยาบาลกันตังเพื่อค้นหาปัญหาต่อ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการแก่แกนนำสุขภาพชุมชน ให้ความรู้/ฝึกทักษะการตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก ในวันที่ 13 กรกฎาคม 2563 เวลา 08.30-16.30 น. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพในชุมชน ให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก 0-6 ปี และสามารถดำเนินการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กในพื้นที่ โดย ทีมวิทยากรจาก โรงพยาบาลกันตัง และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง พร้อมทั้งประเมิน/ทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรม โดยประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรมก่อนและหลังการอบรม จำนวน 10 ข้อ ผลการประเมินความรู้ ดังนี้

- ก่อนการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมได้คะแนนเฉลี่ย 6.32
-  หลังการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 9.28 2.แกนนำสุขภาพชุมชน ร่วมกับ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตรวจประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย โดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย DSPM (Developmental Surveillance & Promotion Manual) ในกลุ่มเป้าหมาย 5 กลุ่มวัย อายุครบ 9 เดือน, 18 เดือน, 30 เดือน, 42 เดือน และ 60 เดือนพร้อมให้คำแนะนำพ่อแม่หรือผู้ปกครองในการฝึกกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เดือนละ 1 ครั้ง (เดือนตุลาคม 2562-สิงหาคม 2563) รวมจำนวน 360 พบเด็กมีพัฒนาการที่สงสัยล่าช้า จำนวน 93 คน แนะนำผู้ปกครองกระตุ้นพัฒนาการ และตรวจประเมินซ้ำ 1 เดือน พบว่า เด็กมีพัฒนาการปกติ จำนวน 90 คน และยังมีพัฒนาการล่าช้า จำนวน ๓ คน ส่งต่อโรงพยาบาลกันตังเพื่อค้นหาปัญหาต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 6 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเด็กอายุ 0– 6 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย
0.00

 

2 เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 6 ปี ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการส่งต่อรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติ
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของเด็กอายุ 0– 6 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม 2.ร้อยละ 90 ของ.เด็กอายุ 0 – 6 ปี ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ ให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก
0.00

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพในชุมชน ให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก 0 - 6 ปี และสามารถดำเนินการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของแกนนำสุขภาพในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0 - 6 ปี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 470 465
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 365 360
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 105 105
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 6 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย (2) เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 6 ปี ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการส่งต่อรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติ (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพในชุมชน ให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก 0 - 6 ปี และสามารถดำเนินการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมตรวจพัฒนาการเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในเขตเทศบาลเมืองกันตัง ปี 2563 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L6895-01-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนุชรี หยังหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด