กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการแก่แกนนำสุขภาพชุมชน ให้ความรู้/ฝึกทักษะการตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก ในวันที่ 13 กรกฎาคม 2563 เวลา 08.30-16.30 น. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพในชุมชน ให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก 0-6 ปี และสามารถดำเนินการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กในพื้นที่ โดย ทีมวิทยากรจาก โรงพยาบาลกันตัง และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง พร้อมทั้งประเมิน/ทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรม โดยประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรมก่อนและหลังการอบรม จำนวน 10 ข้อ ผลการประเมินความรู้ ดังนี้

- ก่อนการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมได้คะแนนเฉลี่ย 6.32
-  หลังการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 9.28 2.แกนนำสุขภาพชุมชน ร่วมกับ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตรวจประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย โดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย DSPM (Developmental Surveillance & Promotion Manual) ในกลุ่มเป้าหมาย 5 กลุ่มวัย อายุครบ 9 เดือน, 18 เดือน, 30 เดือน, 42 เดือน และ 60 เดือนพร้อมให้คำแนะนำพ่อแม่หรือผู้ปกครองในการฝึกกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เดือนละ 1 ครั้ง (เดือนตุลาคม 2562-สิงหาคม 2563) รวมจำนวน 360 พบเด็กมีพัฒนาการที่สงสัยล่าช้า จำนวน 93 คน แนะนำผู้ปกครองกระตุ้นพัฒนาการ และตรวจประเมินซ้ำ 1 เดือน พบว่า เด็กมีพัฒนาการปกติ จำนวน 90 คน และยังมีพัฒนาการล่าช้า จำนวน ๓ คน ส่งต่อโรงพยาบาลกันตังเพื่อค้นหาปัญหาต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 6 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเด็กอายุ 0– 6 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย
0.00

 

2 เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 6 ปี ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการส่งต่อรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติ
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของเด็กอายุ 0– 6 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม 2.ร้อยละ 90 ของ.เด็กอายุ 0 – 6 ปี ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ ให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก
0.00

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพในชุมชน ให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก 0 - 6 ปี และสามารถดำเนินการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของแกนนำสุขภาพในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0 - 6 ปี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 470 465
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 365 360
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 105 105
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 6 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย (2) เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 6 ปี ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการส่งต่อรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติ (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพในชุมชน ให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก 0 - 6 ปี และสามารถดำเนินการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมตรวจพัฒนาการเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh