กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมทักษะชีวิตเยาวชนปลอดภัยจากยาเสพติดตำบลนาบินหลา ประจำปี 2560
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.ตำบลนาบินหลา
วันที่อนุมัติ 26 เมษายน 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 19,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาบินหลา อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.541,99.662place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญประการหนึ่งของประเทศ ซึ่งบ่อนทำลายทรัพยากรและความมั่นคงของประเทศชาติและสังคมเป็นอย่างมาก ได้มีการดำเนินงานในทุกวิถีทางที่จะป้องกันแลปราบปรามมิให้มีการเสพ การซื้อขาย และการผลิตยาเสพติด แต่เนื่องจากปัญหายาเสพติดเป็นปัญหา ที่มีความยุ่งยากและสลับซับซ้อนต่อการดำเนินการจำเป็นต้องวางแผนสำหรับดำเนินงานในแต่ละด้านอย่ารอบคอบ และไม่ได้มีแต่ประเทศไทยแห่งเดียวเท่านั้นประเทศอื่นๆก็ได้มีความพยายามที่จะยับยั้งการเสพการซื้อขาย และการผลิตยาเสพติดอยู่ตลอดเวลา จากการศึกษาของ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) พ.ศ.2536 ได้ประมาณการผู้ใช้สารเสพติดใน 5 ประเภท ได้แก่ สารระเหย กัญชา เฮโรอีน และฝิ่น โดยแยกประชากรที่ศึกษาเป็นกลุ่มย่อย ซึ่งมีความเสี่ยงสูง ต่อการใช้ยาเสพติดไว้ 16 กลุ่ม มีผู้ใช้สารเสพติดทุกกลุ่มรวม 1,267,590 คน หรือร้อยละ 2.17 ของประชากรทั้งประเทศ ในจำนวนนี้ ประมาณการได้ว่า มีกลุ่มวัยเรียน และเยาวชนอายุระหว่าง 15-25 ปี ซึ่งประกอบด้วยนักเรียน นักศึกษา ในสถานศึกษาต่างๆ ใช้ยาเสพติดจำนวน 71,666 คน คิดเป็นร้อยละ 8.13 ของกลุ่มเสี่ยงทั้งหมดเด็กและเยาวชนเริ่มใช้สารเสพติดครั้งแรก เมื่ออายุ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องยาเสพติดและร่วมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดในชุมชน

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ประชุมชี้แจงคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลนาบินหลา ขอความเห็นชอบแผนงาน 2 .จัดทำโครงการเสนอผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอนุมัติแผนงาน
  2. ประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการ และแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน 4 .จัดการอบรม เด็ก และเยาวชน 5.จัดกิจกรรม สมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE
  3. ติดตามผลการดำเนินงาน
  4. สรุปผลการดำเนินงาน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เด็กและเยาวชนเกิดความตระหนักเรื่องยาเสพติดและอบายมุข
2. เด็กและเยาวชนเป็นสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE และมีกิจกรรมต่อเนื่อง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 พ.ค. 2560 13:43 น.