กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ความดันและเบาหวาน ปี 2560 ”

ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางจุรีรัตน์ถาวรเจริญ ,และผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลาน

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ความดันและเบาหวาน ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 17/60 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ความดันและเบาหวาน ปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ความดันและเบาหวาน ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ความดันและเบาหวาน ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 17/60 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ในแต่ละปีทุกๆประเทศได้ใช้จ่ายเงินจำนวนมากมหาศาลเพื่อบำรุงรักษาสุขภาพของประชาชนปรับปรุงส่งเสริมสุขภาพป้องกันอุบัติภัยอันตรายต่างๆรวมทั้งป้องกันโรคติดเชื้อที่ก่อให้เกิดการเจ็บป่วย นับเป็นหนึ่งของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของแต่ละบุคคล ปัจจุบันกระแสของการสร้างเสริมสุขภาพกำลังเป็นที่กล่าวถึงในประเทศส่วนต่างๆ ทั่วโลกรวมทั้งองค์กรระหว่างประเทศเกี่ยวกับสุขภาพได้ให้ความสำคัญในประเด็นดังกล่าวเป็นอย่างมากเป็นประเด็นการเคลื่อนไหวทางสาธารณสุขที่สำคัญและถือได้ว่าเป็นจุดหักเหหรือการเปลี่ยนแปลงแนวคิดเกี่ยวกับกับสุขภาพจากจุดเน้นของการบริการแบบ “ตั้งรับ”หรือ “โรงซ่อมสุขภาพ” ซึ่งเน้นการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วยแล้วมาเน้นการบริการ “เชิงรุก”หรือ“การสร้างเสริมสุขภาพ”ซึ่งเป็นการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันมิให้เกิดการเจ็บป่วย เนื่องจากที่ผ่านมาพบว่าระบบที่มุ่งการซ่อมสุขภาพเป็นระบบที่มีความสิ้นเปลืองต้นทุนค่าใช้จ่ายสูง เกิดผลกระทบทั้งคนไข้และสังคมในส่วนของคนไข้นอกจากจะต้องเสียค่ารักษาพยาบาลแล้วยังต้องสูญเสียรายได้เนื่องจากขาดงานแล้วอาจมีปัญหาสุขภาพจิต ในส่วนของสังคมส่วนรวมต้องแบกรับภาระความเจ็บป่วยเกินความจำเป็นต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดูผู้เจ็บป่วยพิการเสียทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าเสียโอกาสในการนำทรัพยากรไปใช้ในด้านต่างๆเนื่องจากต้องนำมาใช้ในการลงทุนสร้างระบบบริการเพื่อรองรับความเจ็บป่วยการทำให้สุขภาพดีจะทำให้ระบบเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรอรักษาและฟื้นฟูเมื่อสุขภาพเสียแล้วระบบสุขภาพจึงควรมุ่งเน้นที่การ“สร้างสุขภาพ” จากการดำเนินงานด้านการตรวจคัดกรองค้นหาความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่ม ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปเขตตำบลทุ่งลาน จำนวนเป้าหมาย 3137 คน พบว่าส่วนใหญ่มีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องมีภาวะอ้วนลงพุงชอบรับประทานอาหารหวานมันเค็มอีกทั้งไม่ได้ออกกำลังกายมี กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวานและความดันร้อยละ 20 และพบว่ามีกลุ่มเสี่ยงสูงด้วยโรค ความดันโลหิตสูงร้อยละ 4 เบาหวานร้อยละ 2 บ่งบอกได้ว่า กลุ่มดังกล่าวขาดความรู้ด้านการดุแลสุขภาพที่ถูกต้องเพื่อลดโรคและลดภาวะเสี่ยงต่างๆที่จะตามมา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลานจึงได้จัดทำโครงการชาวทุ่งลานปฏิบัติการ 3 อ ลดเสี่ยงไม่เลี้ยง ความดันและเบาหวานขึ้นเพื่อให้ประชาชนที่ได้รับการคัดกรองแล้วมีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพของตนเอง อีกทั้งสามารถลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพจากการเจ็บป่วยจากโรคหรือภาวะเสี่ยงของโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 150คนและความดัน โลหิตสูงจำนวน 150 คนมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคตามหลัก 3 อ 2 ส 2.เพื่อติดตามเฝ้าระวังลดความเสี่ยงต่อการเกิด โรคในกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงดัน 3.เพื่อลดการเจ็บป่วยที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อน จากโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคตามหลัก 3 อ
    2.กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงมีสุขภาพที่ดี มีรอบเอวลดลง สามารถดูแล แนะนำการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องแก่ประชาชนในพื้นที่ของตนเองได้ 3.ลดกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงไม่ให้มีการเจ็บป่วยที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 150คนและความดัน โลหิตสูงจำนวน 150 คนมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคตามหลัก 3 อ 2 ส 2.เพื่อติดตามเฝ้าระวังลดความเสี่ยงต่อการเกิด โรคในกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงดัน 3.เพื่อลดการเจ็บป่วยที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อน จากโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. กลุ่มเสี่ยง HT/DM ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีพฤติกรรมเหมาะสม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ30 1. อัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานต่อแสนประชากร (HDCเทียบปชก.สำรวจ) ไม่เกิน 202/แสนประชากร 2. อัตราป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงต่อแสนประชากร ไม่เกิน 494 /แสนประชากร 1.อัตราป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องลดลงเทียบกับรอบปีที่ผ่านมา

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 150คนและความดัน โลหิตสูงจำนวน 150 คนมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคตามหลัก 3 อ 2 ส 2.เพื่อติดตามเฝ้าระวังลดความเสี่ยงต่อการเกิด โรคในกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงดัน

    3.เพื่อลดการเจ็บป่วยที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อน จากโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ความดันและเบาหวาน ปี 2560 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 17/60

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางจุรีรัตน์ถาวรเจริญ ,และผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลาน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด