กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิดล


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยฯโรงเรียนบ้านตาโละ ”

ตำบลลิดล อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสีตีอามีเนาะ จารู

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยฯโรงเรียนบ้านตาโละ

ที่อยู่ ตำบลลิดล อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L-4142-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยฯโรงเรียนบ้านตาโละ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลิดล อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิดล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยฯโรงเรียนบ้านตาโละ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยฯโรงเรียนบ้านตาโละ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลิดล อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63-L-4142-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,640.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิดล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เป็นเด็กทรัพยากรของมนุษย์ที่มีคามาก ดังนั้นการดูแลและรักษาคุณภาพชีวิตที่ดีของเด็ก ในประเด็นทางสุขภาพเป็นสิ่งจำนวนที่เป็นที่ต้องส่งเสริม โดยเฉพาะในเด้กวัยเรียน การมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง และเจริญเติบโตเต็มศักยภาพจึงมีความสำคัญ ปัจจุบันสถานการณ์ปัญหาสุขภาพที่เด็กวัยเรียนกำลังเผชิญอยู่หลายด้าน เช่น ปัญหาทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียน ซึ่งพบทั้งโภชนาการขาดและเกิน โดยพบเด็กวัยเรียนมีทั้งภาวะเตี้ย ภาวะอ้วน ภาวะผอม และภาวะซีน และเจริญเติบโตที่ไม่เหมาะสมกับวัย ผลกระทบของปัยหาสุขภาพในเด้กวัยเรียน รายงานในปี 2558 จากระบบฐานข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข มีเด็กวัยเรียนที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนเพียงร้อยละ 56 สาเหตุสำคัญที่ทำให้เด็กเตี้ย ส่วนหนึ่งเกิดจากการขาดอาหารเรื้องรัง นอกจากนี้ปัยหาในด้านภาวะทุพโภชนาการทำให้เกิดปัยหาเด้กเตี้ยว่าเกณฑ์มาก น้ำหนักน้ยกว่าเกณฑ์รุนแรง เด็กขาดสารไอโอดีนและเด็กขาดธาตุดหล้ก มีความเสี่ยงต่อภาวะเชาว์ปัยยาต่ำ ซึ่งอาจส่งผลต่อการพัฒนาประเทศในอนาคติ จากจากสำรวจสุขภาพประชาชนโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่4(พ.ศ.2551 - 2552)พบว่าเด็กที่เตี้ยและเด็กค่อนข้างเตี้ยมีค่าเฉียระดับเชาว์ปัยญาต่ำกว่าเด็กที่มีส่วนสุงตามเกณฑ์การศึกษาในต่างประเทศพบว่าปัญหาทุพโภชนาการในเด็กทำให้ผลผลิตมวลรวมประชาชาติของประเทศลดลงได้ถึงสาเหตุร้อยละ 2 -3 นอกจากนี้ปัญหาเรื่องเด็กปฏิบัติกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอต่อการมีสุขภาพที่ดี มีแน้วโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องก่อให้เกิดปัยหาโรคอ้วน นำไปสู่การไร้ความสามารถและเสียชีวิตก่อนวัยอันสมควร ด้วยหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งปัจจุบันเป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประเทศไทย โรคอ้วนเป็นภัยอันตรายที่คุกคามเด็กไทย เด็กอายุ 12 -14 ปี มีภาวะน้ำหนักมากกว่าเกณฑ์สูงกว่าเด็กวัยอื่น(ร้อยละ 11.7)รองลงมาเป็นเด็กอายุ 6 - 11 ปี(ร้อยละ 8.7)ตามลำดับ ปัจจุบันปัญหาโรคภาวะอ้วนในวัยเรียนยังคงเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในส่วนของการจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะการควบคุมดูแลปรับสภาพสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้อยู่ในสภาพที่สามารถป้องกันโรคภัยไข้เจ็บและช่วยลดอุบัติเหตุ ช่วยส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพอนามัยดี ตลอดจนเกิดสุขนิสัยที่ดี ดังนั้นทางโรงเรียนบ้านตาโละ จึงได้เล็งเห็นความสำคัญในการจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในโรงเรียนขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน ส่งผลให้นักเรียนมีพัฒนาทางการร่างกายและสองเจริญเติบโตสมวัย และสร้างความภูมิใจให้กับครอบครัวและสังคม ได้แลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างครู ผู้ปกครอง และสอดคล้องตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตาโละ ที่กำหนดให้โรงเรียนบ้านตาโละ จัดกิจกรรมที่สามารถแก้ไขปัยหาสุขภาพนักเรียนและส่งเสริมการดำเนินงานอนามัยโรงเรียนอย่างมีประสิทธิภาพให้นักเรียนฉลาดและแข็งแรง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ปกครองรับรู้และเข้าใจพัฒนาทางร่างกาย 5 ด้านพร้อมตระหนักในการร่วม 2.เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยมีการเตรียมความพร้อมของพัฒนาการทั้ง 5 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านจิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา 3.เพื่อให้กิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลภาวะโภชนาการเด้กปฐมวัยและประถมศึกษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยฯโรงเรียนบ้านตาโละ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการบริโภคอาหาร การดูแลสุขภาพ และพัฒนาการเจริญเติบโตทั้ง 5 ด้าน 2.ผู้ปกครองนักเรียน และครู มีการเครียมความพร้อมที่จะส่งเสริม และพัฒนาในด้านการดูแลสุขภาพทั้ง 5 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านจิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา 3.นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ที่ได้รับอาหารเสริมครบถ้วน ส่งผลให้มีพัฒนาการท่างร่างกายและสมองเจริญโตสมวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ปกครองรับรู้และเข้าใจพัฒนาทางร่างกาย 5 ด้านพร้อมตระหนักในการร่วม 2.เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยมีการเตรียมความพร้อมของพัฒนาการทั้ง 5 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านจิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา 3.เพื่อให้กิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลภาวะโภชนาการเด้กปฐมวัยและประถมศึกษา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ80ของผู้ปกครองและครู/ผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทั้ง 5 ด้าน - ร้อยละ 80 ได้รับการตรวจพัฒนาการจาก รพ.สต.ลิดล เพรียมพร้อมของพัฒนาการทั้ง 5 ด้าน - ร้อยละ 100 นักเรียนที่มีภาวะทืุพโภชนาการได้รับอาหารเสริม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ปกครองรับรู้และเข้าใจพัฒนาทางร่างกาย 5 ด้านพร้อมตระหนักในการร่วม 2.เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยมีการเตรียมความพร้อมของพัฒนาการทั้ง 5 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านจิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา 3.เพื่อให้กิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลภาวะโภชนาการเด้กปฐมวัยและประถมศึกษา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยฯโรงเรียนบ้านตาโละ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยฯโรงเรียนบ้านตาโละ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L-4142-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสีตีอามีเนาะ จารู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด