กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตำบลบาโลย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
รหัสโครงการ 63-L3044-1-9
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโลย
วันที่อนุมัติ 5 มีนาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2563 -
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 34,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมะลายี ยาสิง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาโลย อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.781,101.439place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 2 ก.ย. 2563 2 ก.ย. 2563 34,400.00
รวมงบประมาณ 34,400.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 140 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทย  สถานการณ์ของโรคมะเร็งปากมดลูก เป็นปัญหาทางสาธารณสุขของโลก โดยเฉพาะในประเทศที่กำลังพัฒนา ในประเทศไทย โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่พบเป็นอันดับหนึ่งในสตรีไทย มีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณปีละ 6,300 ราย พบมากที่สุดระหว่างอายุ 45-50 ปี ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขเองก็ ได้มีนโยบายการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก เพื่อค้นหาและสามารถรักษาอย่างถูกวิธี โดยเน้นให้ประชาชนเข้าถึงบริการทั้งข้อมูลข่าวสาร การใช้บริการตรวจคัดกรอง (ทั้งวิธีVIA และ PAP’s smear) จาก เหตุผลเบื้องต้น จึงทำให้คณะทำงานด้านสุขภาพของตำบลบาโลย ได้กำหนดการดำเนินงานโดยมุ่งเน้น สร้างความตระหนัก เข้าถึงบริการสะดวก  ด้วยการสื่อสารเตือนภัย พัฒนาระบบการเฝ้าระวัง พร้อมทั้งสร้างความเข้มแข็งของระบบสนับสนุน
ซึ่งการดำเนินงานการป้องกันมะเร็งปากมดลูกในปีที่ผ่านมาพบประเด็นที่ต้องพัฒนา คือ ประชาชนไม่ได้รับการตรวจคัดกรองตามแผน เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายมีความอายกับเจ้าหน้าที่ใหม่ รับไม่ได้ถ้าหากรู้ตนเองเป็นมะเร็งจริงๆ คิดว่าไม่เป็นโรค ยังไม่ตระหนักถึงความอันตรายของโรค ในรายที่ตรวจที่คลินิกเอกชนไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ทั้งหมด  นอกจากนี้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมวิถีชีวิตของผู้คนในพื้นที่ ยิ่งทำให้การดูแลสุขภาพกลายเป็นเรื่องที่มีมิติทางความรู้สึกที่ซับซ้อนกว่าประชากรในพื้นที่อื่น ดังนั้น การดำเนินงาน ด้านสุขภาวะในพื้นที่ จึงเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน โดยเฉพาะในสตรีมุสลิม จึงจำเป็นต้องสร้างเครือข่ายผู้ที่เกี่ยวข้องให้เกิดความเข้าใจในอัตลักษณ์ของกลุ่มเป้าหมายอย่างลึกซึ้ง จึงจะเกิดประสิทธิภาพในการทำงานสูงสุด ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโลย จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม  จึงมีความสนใจที่จะทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ขึ้น เพื่อให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

  1. จัดทำโครงการเพื่อเสนออนุมัติโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบาโลย
  2. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูก
  3. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนจากประสบการณ์ที่ได้ดำเนินการเฝ้าระวัง สร้างความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนทัศนคติของกลุ่มเป้าหมาย พร้อมกับให้ความรู้กับหญิงวัยเจริญพันธ์เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และให้บริการตรวจมะเร็งปากมดลูกแก่กลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งแจ้งผลการตรวจคัดกรองให้กับกลุ่มเป้าหมายให้ทราบผลการตรวจ และ ให้การรักษาเบื้องต้นและส่งต่อในรายที่ตรวจพบความผิดปกติ
  4. ทบทวนและปรับปรุงรูปแบบการให้บริการของ รพ.สต. ให้เข้าถึงชุมชนมากขึ้น โดยการจัดบริการเชิงรุก Delivery Pap smear ตามความต้องการของชุมชน
  5. ทบทวนกิจกรรม รวมทั้งประมวลข้อมูลย้อนกลับจากเครือข่ายเพื่อปรับปรุงบริการต่อไป
  6. สรุปและประเมินผลโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อัตราการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์เพิ่มขึ้น
  2. หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการดูแลตลอดระยะของการตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ
  3. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์
  4. หญิงตั้งครรภ์คลอดในสถานบริการเพิ่มขึ้น
  5. มารดามีบุตรอายุต่ำกว่า 20 ปีน้อยลง
  6. ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์น้อยลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 มิ.ย. 2563 11:12 น.