กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน


“ โครงการส่งเสริมการกินผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพของชุมชน ”

ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางนิตยา โส๊ะหวัง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการกินผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพของชุมชน

ที่อยู่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5179-02-04 เลขที่ข้อตกลง 05/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการกินผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพของชุมชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการกินผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพของชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกินผัก ผลไม้ ปลอดสารพิษเพิ่มมากขึ้น (2) เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีจากภายในสู่ภายนอก โดยการกินผัก ผลไม้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมปลูกเองกินเอง (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) โครงการส่งเสริมการกินผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพของชุมชน เป็นโครงการได้รับการตอบรับของประชาชนได้ดีมาก เพราะการกินผัก ผลไม้ สำคัญในชีวิตประจำวัน อยากให้จัดโครงการแบบนี้อย่าต่อเนื่อง

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผัก ผลไม้ เป็นพืชที่ทุกคนต้องบริโภคเป็นประจำทุกวันไม่มากก็น้อยแตกต่างกันไป เนื่องจากผัก ผลไม้ประกอบไปด้วยสารอาหารที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์หลายอย่าง ได้แก่ วิตามินและแร่ธาตุต่าง ๆ โดยเฉพาะธาตุเหล็ก และแคลเซียมแป้งและน้ำตาลจะเป็นแหล่งพลังงานและให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายเซลลูโลสและไฟเบอร์ซึ่งช่วย ในระบบการย่อยอาหารและขับถ่ายของร่างกาย ช่วยให้เกิดพลังงานให้มีความต้านทานต่อโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ ของร่างกาย และยังช่วยให้ร่างกายฟื้นหายจากโรคได้อย่างรวดเร็ว การได้บริโภคผัก ผลไม้ต่าง ๆ ที่ปลอดภัยจากสารพิษในปริมาณที่เหมาะสมเป็นประจำจะช่วยให้ร่างกายมีสุขภาพที่ดี และแข็งแรง ไม่เจ็บป่วยง่าย มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ในทางตรงกันข้ามหากร่างกายขาดอาหารประเภทผัก ผลไม้ ได้รับไม่เพียงพอหรือบริโภคผัก ผลไม้ที่มีสารพิษตกค้างในปริมาณมากเข้าไปจะทำให้ร่างกายอ่อนแอ ระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ทำงานได้ไม่ปกติ อาจเกิดอาการผิดปกติขึ้น ทำให้ความต้านทานโรคต่าง ๆ ของร่างกายลดลง เพราะฉะนั้นผักจึง เป็นพืชที่นิยมบริโภคกันทุกครัวเรือน โดยจะสังเกตได้จากอาหารเกือบทุกชนิดจะต้องมีผัก ผลไม้เป็นส่วนประกอบในการ ชูรสอาหารจานโปรดให้มีรสชาติดีขึ้น หรือใช้ประดับจานอาหารให้สวยงามน่ารับประทานยิ่งขึ้น เนื่องจากค่านิยมในการบริโภคผัก ผลไม้ของประชาชนโดยทั่วไปมักจะเลือกบริโภคผัก ผลไม้ที่สวยงาม ไม่มีร่องรอยการทําลายของหนอนและแมลงศัตรูพืช จึงทําให้เกษตรกรที่ปลูกผัก ผลไม้ จะต้องใช้สารเคมีป้องกันและกําจัดแมลงฉีดพ้นในปริมาณที่มาก เพื่อให้ได้ผัก ผลไม้ที่สวยงามตามความต้องการของตลาด เมื่อผู้ซื้อนํามาบริโภคแล้วอาจได้รับอันตรายจากสารพิษที่ตกค้างอยู่ในพืชผัก ผลไม้ นั้นได้
ดังนั้น กลุ่มสตรีอาสาพัฒนาชุมชน จึงเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการกินผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพ ประจำปี 2563 ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกินผัก ผลไม้ปลอดสารพิษส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีจากภายในสู่ภายนอกลดภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกินผัก ผลไม้ ปลอดสารพิษเพิ่มมากขึ้น
  2. เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีจากภายในสู่ภายนอก โดยการกินผัก ผลไม้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมปลูกเองกินเอง
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนส่วนใหญ่กินผัก ผลไม้ ปลอดสารพิษเพิ่มมากขึ้น
  2. ประชาชนมีสุขภาพที่ดีจากภายในสู่ภายนอกโดยการกินผัก ผลไม้ ปลอดสารพิษ
  3. ลดภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคภัยต่างๆ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมปลูกเองกินเอง

วันที่ 1 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 คน เอาผัก ผลไม้ พร้อมกระถาง ปลูกกินเองที่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายได้กินผัก ผลไม้ ที่ตนเองปลูกเอง มีความปลอดภัยต่อสุขภาพร่างกาย ลดภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆได้

 

80 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

วันที่ 30 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมายทั้งหมดได้เข้าการอบรมโครงการส่งเสริมการกินผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพของชุมช ปี 2563

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้ามีความรู้ความเข้าใจในการกินผัก ผลไม้ ที่ปลอดภัย เพื่อสุขภาพที่ดีจากภายในสู่ภายนอก

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ การกินผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพ ทำให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจและรู้จักวิธีการปลูกที่ถูกวิธีและปลอดภัยจากสารเคมี เพื่อสุขภาพของตนเอง
กิจกรรมปลูกผัก ผลไม้ กินเอง ทำให้ประชาชนให้ความสนใจในการกินผัก ผลไม้ ที่ตนเองปลูกเองมากขึ้น ทำให้มีสุขภาพที่ดี ลดภาวะเจ็บป่วยต่างๆ
สำหรับกิจกรรมในครั้งนี้ได้รับการตอบรับจากกลุ่มเป้าหมายเป็นอย่างดี ช่วยเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทำให้กลุ่มเป้าหมายรักษาสุขภาพมากขึ้น ด้วยการเลือกกินผัก ผลไม้ที่ตนเองปลูกกินเอง ทำให้สุขภาพที่ดีขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกินผัก ผลไม้ ปลอดสารพิษเพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด : ประชาชนส่วนใหญ่กินผัก ผลไม้ ปลอดสารพิษเพิ่มมากขึ้น ลดภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีจากภายในสู่ภายนอก โดยการกินผัก ผลไม้
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีสุขภาพที่ดีจากภายในสู่ภายนอก โดยการกินผัก ผลไม้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกินผัก ผลไม้ ปลอดสารพิษเพิ่มมากขึ้น (2) เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีจากภายในสู่ภายนอก โดยการกินผัก ผลไม้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมปลูกเองกินเอง (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) โครงการส่งเสริมการกินผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพของชุมชน เป็นโครงการได้รับการตอบรับของประชาชนได้ดีมาก เพราะการกินผัก ผลไม้ สำคัญในชีวิตประจำวัน อยากให้จัดโครงการแบบนี้อย่าต่อเนื่อง

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการกินผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพของชุมชน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5179-02-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนิตยา โส๊ะหวัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด