กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน


“ โครงการรู้เท่าทันสื่อ ICT สู่สุขภาพกาย จิต ที่ดี ”

ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายสำสุดี้น หมีนยะลา

ชื่อโครงการ โครงการรู้เท่าทันสื่อ ICT สู่สุขภาพกาย จิต ที่ดี

ที่อยู่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5179-02-05 เลขที่ข้อตกลง 06/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้เท่าทันสื่อ ICT สู่สุขภาพกาย จิต ที่ดี จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้เท่าทันสื่อ ICT สู่สุขภาพกาย จิต ที่ดี



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มจำนวนเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้สื่อ ICT ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม (2) เพื่อลดปัญหาพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพกายและสุขภาพจิต อันเนื่องมาจากการใช้สื่อ ICT

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องรู้เท่าทันสื่อ ICT สูงสุขภาพกาย จิต ที่ดี (2) กิจกรรมค่ายคุณธรรมจริยธรรม ครั้งที่ 1 (3) กิจกรรมค่ายคุณธรรมจริยธรรม ครั้งที่ 2 (4) กิจกรรมค่ายคุณธรรมจริยธรรม ครั้งที่ 3

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) การจัดโครงการฯนี้ขึ้นมาทำให้เด็กและผู้ปกครองให้ความสนใจอย่างมากและทำให้เกิดประโยนช์ในการใช้สื่ออย่างถูกต้อง

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กานเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยียุคใหม่จากกระแสโลกา    ภิวัตน์ในปัจจุบัน ทำให้เด็กและเยาวชนตกอยู่ในสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เป็น “สังคมเสี่ยง” และการมีปัญหาความเสี่ยงด้านพฤติกรรมทางสุขภาพกายและสุขภาพจิต โดยเฉพาะสมาร์ทโฟน เข้ามามีอิทธิพลมากมายในการดำรงชีวิต เช่น การเล่นวีดิโอเกมหรือเกมคอมพิวเตอร์ หรือใช้คอมพิวเตอร์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเรียน มีพฤติกรรมก้าวร้าว เกเร ทะเลาะวิวาท การส่งเสริมด้านจิต มาปรับใช้การพัฒนาเด็กและเยาวชน มีความรู้มีภูมิคุ้มกันที่แข็งแรง รู้ทันการใช้สื่อออนไลน์อย่างปลอดภัยต่อปัญหาความเสี่ยงด้านพฤติกรรมทางสุขภาพกายและสุขภาพจิต
การได้พัฒนาต้นทุนชีวิตด้วยการทำให้ศักยภาพด้านต่างๆ รวมถึงความรู้ด้านสุขภาพในตัวเยาวชนได้รับการพัฒนาอย่างเป็นองค์รวม จะเป็นประโยชน์ต่อเยาวชนและผู้ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาคนกลุ่มนี้ให้มีสุขภาพดีทั้งทางกายและทางจิต ซึ่งต้องอาศัยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภายในตัวเด็กและเยาวชนให้เป็นผู้ที่สามารถคิดได้อย่างอิสระ มีการเชื่อมโยงกับโลกรอบๆการกระทำตามคุณค่า ความหมายและเป้าหมายของตน ทางศูนย์ฯตาดีกาบ้านนนท์ เป็นสถาบันที่มีหน้าให้ความรู้และพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีสุขภาพ ที่ดี โดยจำเป็นต้องมีการแนะนำวิธีการใช้สื่อออนไลน์ได้อย่างเหมาะสม จึงได้จัดโครงการรู้ทันสื่อ ICT สู่สุขภาพกาย สุขภาพจิต ที่ดี ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มจำนวนเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้สื่อ ICT ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
  2. เพื่อลดปัญหาพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพกายและสุขภาพจิต อันเนื่องมาจากการใช้สื่อ ICT

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องรู้เท่าทันสื่อ ICT สูงสุขภาพกาย จิต ที่ดี
  2. กิจกรรมค่ายคุณธรรมจริยธรรม ครั้งที่ 1
  3. กิจกรรมค่ายคุณธรรมจริยธรรม ครั้งที่ 2
  4. กิจกรรมค่ายคุณธรรมจริยธรรม ครั้งที่ 3

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้สื่อ ICT ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและสามารถนำประสบการณ์ไปพัฒนาตนเองและด้านการเรียน
  2. ลดปัญหาพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพกายและสุขภาพจิต อันเนื่องมาจากการใช้สื่อ ICT

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องรู้เท่าทันสื่อ ICT สูงสุขภาพกาย จิต ที่ดี

วันที่ 29 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ เรื่อง รู้เท่าทันสื่อ ICT สู่สุขภาพกาย จิต ที่ดี และ เรื่อง รู้เท่าทัน ICT ในวัยเรียน และนันทนาการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช่สื่อ ICT ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

 

120 0

2. กิจกรรมค่ายคุณธรรมจริยธรรม ครั้งที่ 1

วันที่ 5 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการฐานการเรียนรู้
ฐานที่ 1 มารู้จักการใช้สื่อ ICT กันเถอะ ฐานที่ 2 ใช้สื่อ ICT อย่างไรให้ถูกต้อง ฐานที่ 3 ประโยชน์และโทษของสื่อ ICT

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมค่ายคุณธรรมจริยธรรม ครั้งที่ 1 ร้อยละ 30 เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้สื่อ ICT และลดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมต่อสุขภาพกายสุขภาพจิตโดยการแบ่งเวลาในการใช้สื่อ ICT

 

60 0

3. กิจกรรมค่ายคุณธรรมจริยธรรม ครั้งที่ 2

วันที่ 6 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการฐานการเรียนรู้
ฐานที่ 1 มารู้จักการใช้สื่อ ICT กันเถอะ ฐานที่ 2 ใช้สื่อ ICT อย่างไรให้ถูกต้อง ฐานที่ 3 ประโยชน์และโทษของสื่อ ICT

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมค่ายคุณธรรมจริยธรรม ครั้งที่ 2 ร้อยละ60 เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้สื่อ ICT และลดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมต่อสุขภาพกายสุขภาพจิตโดยการแบ่งเวลาในการใช้สื่อ ICT

 

60 0

4. กิจกรรมค่ายคุณธรรมจริยธรรม ครั้งที่ 3

วันที่ 7 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการฐานการเรียนรู้
ฐานที่ 1 มารู้จักการใช้สื่อ ICT กันเถอะ ฐานที่ 2 ใช้สื่อ ICT อย่างไรให้ถูกต้อง ฐานที่ 3 ประโยชน์และโทษของสื่อ ICT

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมค่ายคุณธรรมจริยธรรม ครั้งที่ 3 ร้อยละ 95 เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้สื่อ ICT และลดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมต่อสุขภาพกายสุขภาพจิตโดยการแบ่งเวลาในการใช้สื่อ ICT

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มจำนวนเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้สื่อ ICT ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้สื่อ ICT ที่เหมาะสมและถูกต้อง
60.00

 

2 เพื่อลดปัญหาพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพกายและสุขภาพจิต อันเนื่องมาจากการใช้สื่อ ICT
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมที่เหมาะสม มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
80.00 20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60 60
กลุ่มวัยทำงาน 60 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มจำนวนเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้สื่อ ICT ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม (2) เพื่อลดปัญหาพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพกายและสุขภาพจิต อันเนื่องมาจากการใช้สื่อ ICT

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องรู้เท่าทันสื่อ ICT สูงสุขภาพกาย จิต ที่ดี (2) กิจกรรมค่ายคุณธรรมจริยธรรม ครั้งที่ 1 (3) กิจกรรมค่ายคุณธรรมจริยธรรม ครั้งที่ 2 (4) กิจกรรมค่ายคุณธรรมจริยธรรม ครั้งที่ 3

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) การจัดโครงการฯนี้ขึ้นมาทำให้เด็กและผู้ปกครองให้ความสนใจอย่างมากและทำให้เกิดประโยนช์ในการใช้สื่ออย่างถูกต้อง

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรู้เท่าทันสื่อ ICT สู่สุขภาพกาย จิต ที่ดี จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5179-02-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสำสุดี้น หมีนยะลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด