โครงการลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการ พัฒนาการตามวัยและรับวัคซีนตามเกณฑ์
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการ พัฒนาการตามวัยและรับวัคซีนตามเกณฑ์ ”
ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอารีนา เจ๊ะแม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการ พัฒนาการตามวัยและรับวัคซีนตามเกณฑ์
ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L2535-01-9 เลขที่ข้อตกลง 09
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการ พัฒนาการตามวัยและรับวัคซีนตามเกณฑ์ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการ พัฒนาการตามวัยและรับวัคซีนตามเกณฑ์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการ พัฒนาการตามวัยและรับวัคซีนตามเกณฑ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2535-01-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,260.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นงานบริการขั้นพื้นฐานที่เด็กไทยทุกคนพึงได้รับบริการจากรัฐและผู้ปกครองของเด็กที่มีเด็กอายุ ๐-๕ ปี ควรที่จะมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจากการสัมภาษณ์และสอบถามผู้ปกครองของเด็กที่มีอายุ ๐-๕ ปี เกี่ยวกับการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของเด็กในการปกครอง จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่าการดำเนินงานในกิจกรรมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมีประชากรเด็ก ๐-๕ ปี ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จำนวน ๕๑๖ คน และวัคซีนตามเกณฑ์ จำนวน ๔๒๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๒.๓๖ การดำเนินงานในกิจกรรมโภชนาการประชากรเด็ก ๐-๕ปี ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จำนวน ๕๑๖ คนได้รับการเฝ้าระวัง จำนวน ๔๖๘ คนคิดเป็นร้อยละ ๙๐.๖๙ พบอัตราเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน ๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๙๙ และเด็กน้ำหนักค่อนข้างน้อย จำนวน ๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๓.๔๑ ซึ่งยังไม่บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ คือ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนให้ได้ร้อยละ ๙๐ ภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๕๗ อัตราเด็กมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์น้อยกว่าร้อยละ ๗ จะเห็นได้ว่าภาวะทุพโภชนาการเด็ก ๐-๕ปี ในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัส ยังคงเป็นปัญหาที่ต้องดำเนินการแก้ไขต่อไป
จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัส จึงได้จัดทำโครงการลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการ พัฒนาการตามวัยและรับวัคซีนตามเกณฑ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กแรกเกิด-๕ปี ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการเกิดโรคการที่ไม่ได้รับวัค
- เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และเห็นความสำคัญของการรับวัคซีน และการตรวจภาวะโภชนาการพัฒนาการในเด็ก
- เพื่อให้เด็กแรกเกิด-๕ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ โภชนาการและพัฒนาตามเกณฑ์
- เพื่อให้เด็กแรกเกิด-๕ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่1 การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและคัดกรองพัฒนาการ
- กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (กิน กอด เล่น เล่า )
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ผู้ปกครองได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการเกิดโรคจากการที่ไม่ได้รับวัคซีน
๒.ผู้ปกครองมีความรู้และเห็นความสำคัญของการรับวัคซีน
๓.เด็กอายุ ๐-๕ ปี ดีรับวัคซีนครบเกณฑ์
๔.ให้เด็กแรกเกิด-๕ ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมที่1 การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและคัดกรองพัฒนาการ
วันที่ 19 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
รณรงค์ติดตามน้ำหนัก/ส่วนสูง พัฒนาการและรับวัคซีนในชุมชน
- นมกล่องสำหรับส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 5 ปี ที่เข้าร่วมกิจกรรม เด็กเข้าร่วมกิจกรรมการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการกล่องละ 56 บาท จำนวน 516 กล่อง จำนวน 2 ครั้ง (ทุก3เดือน) เป็นเงิน 5,160 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ผู้ปกครองได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการเกิดโรคจากการที่ไม่ได้รับวัคซีน
2.ผู้ปกครองมีความรู้และเห็นความสำคัญของการรับวัคซีน
3.เด็กอายุ ๐-๕ ปี ดีรับวัคซีนครบเกณฑ์
4.ให้เด็กแรกเกิด-๕ ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
0
0
2. กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (กิน กอด เล่น เล่า )
วันที่ 19 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (กิน กอด เล่น เล่า)
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คนๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
- ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 2 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
- ค่าป้ายไวนิลโครงการขนาด 1*2 เมตร จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 500 บาท
- ค่าอาหารเสริมสำหรับเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (นมกล่องสำหรับเด็กอายุ 1 ปี ขึ้นไป) ขนาด 180 มล. จำนวน 30 คนๆละ 90 กล่องๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 27,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ผู้ปกครองได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการเกิดโรคจากการที่ไม่ได้รับวัคซีน
2.ผู้ปกครองมีความรู้และเห็นความสำคัญของการรับวัคซีน
3.เด็กอายุ ๐-๕ ปี ดีรับวัคซีนครบเกณฑ์
4.ให้เด็กแรกเกิด-๕ ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
30
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กแรกเกิด-๕ปี ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการเกิดโรคการที่ไม่ได้รับวัค
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และเห็นความสำคัญของการรับวัคซีน และการตรวจภาวะโภชนาการพัฒนาการในเด็ก
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อให้เด็กแรกเกิด-๕ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ โภชนาการและพัฒนาตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด :
0.00
4
เพื่อให้เด็กแรกเกิด-๕ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กแรกเกิด-๕ปี ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการเกิดโรคการที่ไม่ได้รับวัค (2) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และเห็นความสำคัญของการรับวัคซีน และการตรวจภาวะโภชนาการพัฒนาการในเด็ก (3) เพื่อให้เด็กแรกเกิด-๕ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ โภชนาการและพัฒนาตามเกณฑ์ (4) เพื่อให้เด็กแรกเกิด-๕ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่1 การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและคัดกรองพัฒนาการ (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (กิน กอด เล่น เล่า )
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการ พัฒนาการตามวัยและรับวัคซีนตามเกณฑ์ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L2535-01-9
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอารีนา เจ๊ะแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการ พัฒนาการตามวัยและรับวัคซีนตามเกณฑ์ ”
ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอารีนา เจ๊ะแม
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L2535-01-9 เลขที่ข้อตกลง 09
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการ พัฒนาการตามวัยและรับวัคซีนตามเกณฑ์ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการ พัฒนาการตามวัยและรับวัคซีนตามเกณฑ์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการ พัฒนาการตามวัยและรับวัคซีนตามเกณฑ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2535-01-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,260.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นงานบริการขั้นพื้นฐานที่เด็กไทยทุกคนพึงได้รับบริการจากรัฐและผู้ปกครองของเด็กที่มีเด็กอายุ ๐-๕ ปี ควรที่จะมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจากการสัมภาษณ์และสอบถามผู้ปกครองของเด็กที่มีอายุ ๐-๕ ปี เกี่ยวกับการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของเด็กในการปกครอง จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่าการดำเนินงานในกิจกรรมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมีประชากรเด็ก ๐-๕ ปี ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จำนวน ๕๑๖ คน และวัคซีนตามเกณฑ์ จำนวน ๔๒๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๒.๓๖ การดำเนินงานในกิจกรรมโภชนาการประชากรเด็ก ๐-๕ปี ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จำนวน ๕๑๖ คนได้รับการเฝ้าระวัง จำนวน ๔๖๘ คนคิดเป็นร้อยละ ๙๐.๖๙ พบอัตราเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน ๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๙๙ และเด็กน้ำหนักค่อนข้างน้อย จำนวน ๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๓.๔๑ ซึ่งยังไม่บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ คือ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนให้ได้ร้อยละ ๙๐ ภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๕๗ อัตราเด็กมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์น้อยกว่าร้อยละ ๗ จะเห็นได้ว่าภาวะทุพโภชนาการเด็ก ๐-๕ปี ในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัส ยังคงเป็นปัญหาที่ต้องดำเนินการแก้ไขต่อไป จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัส จึงได้จัดทำโครงการลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการ พัฒนาการตามวัยและรับวัคซีนตามเกณฑ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กแรกเกิด-๕ปี ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการเกิดโรคการที่ไม่ได้รับวัค
- เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และเห็นความสำคัญของการรับวัคซีน และการตรวจภาวะโภชนาการพัฒนาการในเด็ก
- เพื่อให้เด็กแรกเกิด-๕ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ โภชนาการและพัฒนาตามเกณฑ์
- เพื่อให้เด็กแรกเกิด-๕ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่1 การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและคัดกรองพัฒนาการ
- กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (กิน กอด เล่น เล่า )
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 30 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ผู้ปกครองได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการเกิดโรคจากการที่ไม่ได้รับวัคซีน
๒.ผู้ปกครองมีความรู้และเห็นความสำคัญของการรับวัคซีน
๓.เด็กอายุ ๐-๕ ปี ดีรับวัคซีนครบเกณฑ์
๔.ให้เด็กแรกเกิด-๕ ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมที่1 การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและคัดกรองพัฒนาการ |
||
วันที่ 19 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำรณรงค์ติดตามน้ำหนัก/ส่วนสูง พัฒนาการและรับวัคซีนในชุมชน - นมกล่องสำหรับส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 5 ปี ที่เข้าร่วมกิจกรรม เด็กเข้าร่วมกิจกรรมการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการกล่องละ 56 บาท จำนวน 516 กล่อง จำนวน 2 ครั้ง (ทุก3เดือน) เป็นเงิน 5,160 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ผู้ปกครองได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการเกิดโรคจากการที่ไม่ได้รับวัคซีน
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (กิน กอด เล่น เล่า ) |
||
วันที่ 19 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (กิน กอด เล่น เล่า) - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คนๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท - ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 2 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท - ค่าป้ายไวนิลโครงการขนาด 1*2 เมตร จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 500 บาท - ค่าอาหารเสริมสำหรับเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (นมกล่องสำหรับเด็กอายุ 1 ปี ขึ้นไป) ขนาด 180 มล. จำนวน 30 คนๆละ 90 กล่องๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 27,000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ผู้ปกครองได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการเกิดโรคจากการที่ไม่ได้รับวัคซีน
|
30 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กแรกเกิด-๕ปี ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการเกิดโรคการที่ไม่ได้รับวัค ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และเห็นความสำคัญของการรับวัคซีน และการตรวจภาวะโภชนาการพัฒนาการในเด็ก ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้เด็กแรกเกิด-๕ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ โภชนาการและพัฒนาตามเกณฑ์ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อให้เด็กแรกเกิด-๕ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 30 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กแรกเกิด-๕ปี ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการเกิดโรคการที่ไม่ได้รับวัค (2) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และเห็นความสำคัญของการรับวัคซีน และการตรวจภาวะโภชนาการพัฒนาการในเด็ก (3) เพื่อให้เด็กแรกเกิด-๕ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ โภชนาการและพัฒนาตามเกณฑ์ (4) เพื่อให้เด็กแรกเกิด-๕ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่1 การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและคัดกรองพัฒนาการ (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (กิน กอด เล่น เล่า )
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการลูกน้อยสุขภาพดี โภชนาการ พัฒนาการตามวัยและรับวัคซีนตามเกณฑ์ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L2535-01-9
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอารีนา เจ๊ะแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......