กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส


“ โครงการพัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็ก ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ”

ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางมยุรา เบญจมามาศ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็ก ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2535-01-11 เลขที่ข้อตกลง 11

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็ก ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็ก ปีงบประมาณ ๒๕๖๓



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็ก ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2535-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,490.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การที่เด็กจะมีพัฒนาการที่สมบูรณ์ แข็งแรง พื้นฐานส่วนหนึ่งมาจากการดูแลของมารดาขณะตั้งครรภ์ การมาฝากครรภ์เมื่อรู้ว่าท้อง รวมทั้งความพร้อมของการมีบุตร แต่สิ่งที่สำคัญที่มารดาควรได้รับการดูแลอย่างถูกต้อง และมีความรู้ ความเข้าใจ ของมารดาในเรื่องการเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์การดูแลขณะตั้งครรภ์ และการดูแลหลังคลอด จากรายงานสรุปผลการดำเนินงานในปีงบประมาณในรอบ ๓ ปีที่ผ่านมา ( ๒๕60,๒๕๖1 และ ๒๕๖2) พบว่ามีหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ ร้อยละ ๙o, 81.14 และ71.42 ตามลำดับ หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ ๗๖.๙, 84.24 และ71.42 ตามลำดับหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง ( HCT

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรค์ได้รับการตรวจครรค์เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ได้เร็วก่อนอายุครบ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 75
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดและมีภาวะเสี่ยงใกล้คลอดน้อยกว่า ร้อยละ 10
  3. เพื่อให้ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณท์ ร้อยละ 7
  4. เพื่อให้หยิงวัยเจริญพันธ์อายุ 19-35 ปีได้รับประทานยาโพเลตป้องกันความพิการของทารกในครรภ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมติดตามการรับยาโพเลตในหญิงวัยเจริญพันธ์
  2. อบรมหญิงตั้งครรภ์/แม่คุณภาพ จำนวน 2 ครั้ง
  3. กิจกรรมจัดหาอาหารที่มีประโยชน์ต่อหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 46
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจครรภ์เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ได้เร็วก่อนอายุครรภ์ครบ๑๒ สัปดาห์ ร้อยละ ๗๕ 2.หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดและมีภาวะเสี่ยงใกล้คลอดน้อยกว่า ร้อยละ ๑o 3.ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ไม่เกิน ร้อยละ ๗ 4.หญิงวัยเจริญพันธ์อายุ 19-35 ปีได้รับประทานยาโฟเลทเพื่อป้องกันความพิการของทารกในครรภ์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมติดตามการรับยาโพเลตในหญิงวัยเจริญพันธ์

วันที่ 1 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

-เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความสำคัญของโฟเลตโดยใช้สื่อต่างๆ -จัดให้มี อาสาสมัครบัดดี้ติดตามเยี่ยมบ้านหญิงวัยเจริญพันธ์ที่เข้าร่วมโครการในการรับประทานยาอย่างต่อเนื่อ -ติดตามและประเมินการดำเนินงานชุมชนขับเคลื่อนโฟเลต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หญิงตั้งครรภ์ตามกลุ่มเป้าหมายได้รับยาโพเลตอย่างต่อเนื่อง

 

0 0

2. กิจกรรมจัดหาอาหารที่มีประโยชน์ต่อหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด

วันที่ 29 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • คัดเลือกหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดที่มีความเข้มข้นเลือด น้อยกว่า 33%
  • ดูแลให้ได้รับนมสเตอรีไลน์ จำนวน 30 กล่อง/เดือน ระยะเวลา 3 เดือน
  • เจาะเลือดเพื่อเฝ้าระวังหาความเข้มข้นเลือดเดลือละ 1 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 23 ราย ไม่พบภาวะซีด

 

0 0

3. อบรมหญิงตั้งครรภ์/แม่คุณภาพ จำนวน 2 ครั้ง

วันที่ 8 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอบรมโรงเรียนพ่อแม่ โดยแบ่งเป็น 2 รุ่น วันที่ 8-9 ธันวาคม 2563 -บรรยายให้ความรู้ การดูแลสุขภาพแม่และเด็ก
-โภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ - บทบาทสามีในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ - การเลือกรับประทานอาหารเพื่อป้องกันภาวะซีด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรค์ได้รับการตรวจครรค์เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ได้เร็วก่อนอายุครบ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 75
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 75
0.00

 

2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดและมีภาวะเสี่ยงใกล้คลอดน้อยกว่า ร้อยละ 10
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 10
0.00

 

3 เพื่อให้ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณท์ ร้อยละ 7
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 7
0.00

 

4 เพื่อให้หยิงวัยเจริญพันธ์อายุ 19-35 ปีได้รับประทานยาโพเลตป้องกันความพิการของทารกในครรภ์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 166
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 46
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรค์ได้รับการตรวจครรค์เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ได้เร็วก่อนอายุครบ 12  สัปดาห์ ร้อยละ 75 (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดและมีภาวะเสี่ยงใกล้คลอดน้อยกว่า ร้อยละ 10 (3) เพื่อให้ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณท์ ร้อยละ 7 (4) เพื่อให้หยิงวัยเจริญพันธ์อายุ 19-35 ปีได้รับประทานยาโพเลตป้องกันความพิการของทารกในครรภ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมติดตามการรับยาโพเลตในหญิงวัยเจริญพันธ์ (2) อบรมหญิงตั้งครรภ์/แม่คุณภาพ จำนวน 2 ครั้ง (3) กิจกรรมจัดหาอาหารที่มีประโยชน์ต่อหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็ก ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2535-01-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมยุรา เบญจมามาศ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด